Page 222 -
P. 222

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-89




                                        “(1.1) คุมครองพื้นที่ปาใหคงความอุดมสมบูรณไมนอยกวารอยละ 33 พื้นที่
                  ปาอนุรักษไมนอยกวารอยละ 18 ของพื้นที่ประเทศ ฟนฟูปาอนุรักษ 2,900,000 ไร”

                                ในสวนของแนวทางการพัฒนาไดกําหนดไวในขอ 3.1 ดังนี้


                                “ 3.1 การรักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ
                                   การตระหนักวาฐานทรัพยากรเปนทรัพยสินรวมกันของสังคม    ทุกคนมีสวนไดรับ
                  ประโยชนและมีสวนในการรับผิดชอบโดยเทาเทียมกัน   จะทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนบทบาทการบริหาร

                  จัดการใหเกิดลักษณะกระจายอํานาจ และสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม โดยมีองคความรู การเสริมสราง
                  ศักยภาพ และจิตสํานึก เปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยในการตัดสินใจ เพื่อรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและ
                  การใชประโยชน  ระหวางผลประโยชนระยะสั้นกับผลประโยชนระยะยาว  และระหวางผูมีสวนไดเสียกลุม

                  ตางๆ  นอกจากนั้น  ยังจําเปนตองสรางเครือขายทางสังคมที่เปนความรวมมือกันระหวางภาครัฐ  องคกร
                  พัฒนาเอกชน ภาคเอกชน ชุมชน ทองถิ่น และนักวิชาการ เพื่อใหเกิดพลังขับเคลื่อนทางสังคมอยางแทจริง
                  โดยมีแนวทางดําเนินงาน ดังนี้
                                        (1) พัฒนาระบบฐานขอมูลและสรางองคความรู
                                        พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ ภูมิศาสตร และขอมูลแผนที่ 1 : 4000 เพื่อใช

                  กําหนดแนวเขตอนุรักษที่ชัดเจนโดยชุมชนมีสวนรวม  และจัดทําระบบฐานขอมูลและทะเบียนการบุกรุกใช
                  ประโยชน  เพื่อวางระบบกระจายการถือครองใหคนยากจนมีปจจัยการผลิตเปนของตนเอง  สนับสนุนการ
                  วิจัยรวมระหวางภาควิชาการกับชุมชนทองถิ่น  คนหาองคความรู  ภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชุมชน  ตาม

                  ลักษณะของระบบภูมินิเวศน  ในการดูแลฟนฟูฐานทรัพยากร  รวมทั้งมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของ
                  ระบบนิเวศที่สําคัญ เชน ปาตนน้ํา ลุมน้ํา ระบบนิเวศชายฝง แหลงกําเนิดความหลากหลายทางชีวภาพ
                  จัดทําเปนระบบฐานขอมูลที่ถูกตองเปนเอกภาพ นําไปเผยแพรตอชุมชนและภาคีที่เกี่ยวของ เพื่อสรางฐาน
                  องคความรูและใชเปนเครื่องมือในการจัดการทรัพยากร รวมทั้งเผยแพรรูปธรรมตัวอยางในการอนุรักษและ

                  จัดการฐานทรัพยากรที่มีความสมดุลและยั่งยืน

                                        (2) สงเสริมสิทธิชุมชนและการมีสวนรวมในจัดการทรัพยากร
                                        กระจายอํานาจการจัดการทรัพยากรใหชุมชนทองถิ่นที่มีศักยภาพ สนับสนุน
                  กระบวนการมีสวนรวม  การสรางความเขมแข็งของประชาคม  สงเสริมบทบาทของผูนําทองถิ่น  องคกรปกครอง

                  สวนทองถิ่น ปราชญชาวบาน และการสรางเครือขายทางสังคม เครือขายอนุรักษและจัดการทรัพยากรของชุมชน
                  ทองถิ่น เพื่อเสริมสรางศักยภาพและบทบาทของชุมชนในการดูแลฟนฟูฐานทรัพยากรรวมทั้งถายทอดยกระดับภูมิ
                  ปญญาทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรรวมกับความรูสมัยใหม  เชื่อมโยงการจัดการทรัพยากรกับการผลิตของชุมชน

                  สงเสริมชุมชนในการจัดตั้งปาชุมชน การจัดการประมงทะเลและทรัพยากรชายฝง สรางมาตรการจูงใจสนับสนุนให
                  ชุมชนทําหนาที่ฟนฟู รักษาสายพันธุทองถิ่น ทั้งพันธุพืช พันธุสัตว ที่มีคุณคาตอการดํารงชีวิต เปนเอกลักษณของ
                  พื้นที่ หายากและมีมูลคาทางเศรษฐกิจ เพื่อสรางความมั่นคงดานอาหารและการดํารงชีวิต ซึ่งจะทําใหชุมชนที่อยู
                  รายรอบระบบนิเวศและฐานทรัพยากร เปนฐานเครือขายทางสังคมที่เขมแข็งในการฟนฟูรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227