Page 218 -
P. 218

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-85




                  และอําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส อําเภอกะพอ จังหวัดปตตานี อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ใหเปนอุทยาน
                  แหงชาติ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2542 หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวาอุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี พื้นที่รวม
                  213,125 ไร

                                        ผลการสํารวจการถือครองที่ดินของชาวบาน  เมื่อป  2544-2547  ตามโครงการ
                  จัดการทรัพยากรที่ดินและปาไม ในพื้นที่อนุรักษตามกฎหมาย สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 6 สาขาปตตานี
                  จังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส พบวาเขตอุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี ไดทับที่ทํากินของชาวบาน สรุปไดดังนี้

                                     จํานวนผูถือครอง (ราย)          พื้นที่          เฉลี่ยพื้นที่ถือครอง
                    จังหวัดปตตานี           216           2,570ไร 2 งาน 24 ตารางวา     11.90 ไร/ราย

                    จังหวัดยะลา              272           4,608 ไร                     16.94 ไร/ราย
                    จังหวัดนราธิวาส          6,497         89,038 ไร 1 งาน 43 ตารางวา   13.70 ไร/ราย


                                    ปญหาความเดือดรอนของชาวบานตั้งแตป 2542 ถึงปจจุบันคือไมสามารถตัดโคนตน
                  ยางพารา  เพื่อปลูกทดแทนใหมได  กอใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและรายไดของชาวบานในพื้นที่
                  ขอเสนอ

                                    - ใหกรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อนุญาตใหมีการ
                  "เปลี่ยนตนไม" โดยใหชาวบานสามารถทําการตัดโคนตนยางพาราที่หมดอายุในที่ดินทํากินของตนเอง ที่อยู
                  ในเขตอุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี
                                    - ใหสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) ใหการสงเคราะหแก

                  เกษตรกรในการปลูกยางทดแทนในที่ดินทํากินของตนเอง ที่อยูในเขตอุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี

                         คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันทแหงชาติ  (กอส.)  ไดพิจารณาขอมูลและขอเสนอแนะทั้ง
                  สองกรณีแลวเห็นวา  กรณีทั้งสองนาจะเปนตัวอยางของความรวมมือระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ของรัฐ
                  ในการแกไขปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น  อีกทั้งเปนการสรางโอกาสใหประชาชนไดใช

                  ทรัพยากรที่คุมคาและยั่งยืน ซึ่งจะมีผลตอการแกไขปญหาความยากจนอยางเปนรูปธรรม เปนการประหยัด
                  งบประมาณของรัฐ และสรางศรัทธาและความเชื่อมั่นของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตตอรัฐบาล
                  อีกดวย ซึ่งเห็นควรที่รัฐบาลจะพึงใหความสําคัญและสั่งการ เรงรัดใหมีผลปฏิบัติโดยเร็ว

                         วันที่ 11 ตุลาคม 2548  คณะรัฐมนตรีรับทราบเรื่องการขอใชพื้นที่ปาชายเลนเพื่อกอสรางสะพาน คสล.
                  ขามแมน้ําประแสร  อําเภอแกลง  จังหวัดระยองตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ  ซึ่งอนุมัติตามมติคณะกรรมการ
                  กลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (ฝายสาธารณสุข การเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) ซึ่ง
                  มีรองนายกรัฐมนตรี (นายพินิจ จารุสมบัติ) เปนประธานที่เห็นชอบใหกระทรวงคมนาคม โดยกรมทางหลวงยึดถือ
                  ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2534 ที่มีมติใหระงับการใชประโยชนในพื้นที่ปาชายเลนโดย

                  เด็ดขาด  เพื่อหยุดยั้งการบุกรุกที่ดินในเขตปาไมชายเลนและระงับการพิจารณาขออนุญาตใชประโยชนในพื้นที่ปา
                  ชายเลนของทางราชการ  และใหรับประเด็นอภิปรายของคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี  คณะที่
                  6  ที่เห็นวาการที่กระทรวงคมนาคมจะขอยกเวนการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาว  เพื่อใหกรมทางหลวง

                  กอสรางสะพาน คสล. ขามแมน้ําประแสร อําเภอแกลง จังหวัดระยอง จะตองมีความจําเปนจริงๆ และไมสามารถ
                  หลีกเลี่ยงไดและโดยที่การกอสรางสะพานและถนนตอเชื่อมในพื้นที่ปาชายเลน  เปนการ  เปลี่ยนสภาพปาชายเลน
                  อยางสิ้นเชิง  และยังมีผลทําใหปาชายเลนบริเวณใกลเคียงมีสภาพเสื่อมโทรมลง  ซึ่งจะสงผลกระทบตอระบบ
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223