Page 213 -
P. 213

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-80




                  อนุญาตใชประโยชนในพื้นที่ลุมน้ําดังกลาวเพื่อการทําเหมืองแรตามมติดังกลาว  จะตองนําเสนอ
                  คณะรัฐมนตรีพิจารณาเปนรายๆ ไป
                                พื้นที่คําขอที่  7 – 9/2543  และ  11/2543  มีศักยภาพแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน

                  ซึ่งเปนวัตถุดิบในการผลิตปูน โดยมีปริมาณสํารองแรหิน 69.79 ลานเมตริกตัน  มูลคา 5,932.39  ลานบาท
                  โดยมีวิธีการทําเหมืองแรแบบเหมืองหาบ  ซึ่งมีการเวนขอบเขาโดยรอบเพื่อรักษาทัศนียภาพและปองกัน
                  ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการทําเหมืองแร  และมีการฟนฟูควบคูกันไป  โดยปลูกพืชคลุมดินเพื่อ
                  ปองกันการชะลางพังทลายของดิน

                                รัฐจะไดรับผลประโยชนจากคาภาคหลวง แรหินปูน เปนเงิน 237.29 ลานบาท โดยจะสง
                  เปนรายไดแผนดินรอยละ  40    และจัดสรรใหองคการปกครองสวนทองถิ่นที่เหลือรอยละ  60  และได
                  ผลประโยชนพิเศษจาการอนุญาตประทานบัตรเปนเงิน    18,632,918  บาท    รวมทั้งจะไดผลประโยชน

                  ทางดานภาษีตางๆ
                                จากการที่คณะรัฐมนตรีมีมติคณะรัฐมนตรี (6 กุมภาพันธ 2544) ที่ไดเห็นชอบในหลักการ
                  การกําหนดมาตรการแนวทางแกไขปญหาการขออนุญาตเขาทําประโยชนในเขตพื้นที่ปาอนุรักษ (พื้นที่ลุม
                  น้ําชั้นที่ 1  เอ)  กรณีเปนการขอประทานบัตรใหมในพื้นที่ประทานบัตรเดิม  จะตองอนุมัติขอผอนผันจาก
                  คณะรัฐมนตรี  และตองใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหความเห็นชอบในรายงานการ

                  ประเมินศักยภาพใชประโยชนในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่  1 เอ  กอน  ซึ่งผลการดําเนินการดังกลาวคณะกรรมการ
                  สิ่งแวดลอมแหงชาติไดมีการพิจารณารวม  4   ครั้ง  ไดเห็นชอบดวยแลวเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว  ซึ่งคณะ
                  กรรมการฯ มีสวนราชการที่เกี่ยวของเปนองคประกอบของคณะกรรมการครบถวน  และไดมีสวนรวมใน

                  การพิจารณาในเรื่องดังกลาวแลว

                         วันที่ 27  กรกฎาคม 2547  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการหมูบานปาไมแผนใหมตามแนว
                  พระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72  พรรษา มหาราชินี ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

                  เสนอ โดยโครงการนี้มีสาระสําคัญเพื่อบริหารจัดการปาไมหมูบานตามแนวพระราชดําริและเปนการเฉลิม
                  พระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษา หยุดยั้ง
                  การบุกรุกทําลายปาไม และใหประชาชนในพื้นที่รวมกันดูแลปองกัน รักษาและใชประโยชนจากปาไมทุกแหง
                         วันที่ 10  สิงหาคม 2547    คณะรัฐมนตรีรับทราบโครงการหมูบานปาไมแผนใหมตามแนว
                  พระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72  พรรษา พระบรมราชินีนาถ ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม ไดปรับปรุงตามที่สํานักงาน กปร.เสนอ ดังนี้
                                หลักการและเหตุผล จากความเสื่อมโทรมของทรัพยากรปาไมซึ่งสงผลกระทบตอการ
                  ชะลางพังทลายของดิน ดินถลม น้ําทวม ตลอดจนภัยแลงในพื้นที่ตางๆ ของประเทศ นายกรัฐมนตรีจึงไดมี

                  บัญชาใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในฐานะหนวยงานหลักในการสงวนอนุรักษฟนฟูและ
                  ใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน  ดําเนินการฟนฟูทรัพยากรปาไม  โดยยึดแนว
                  พระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวซึ่ง  ไดพระราชทานแนวพระราชดําริในการใหชาวบานรวมกัน
                  เปนหมูบานปาไม  (แผนใหม)  ใหประชาชนมีสวนรวมดวยความจริงใจ  ไมตองถูกขับไล  ใชประโยชนพื้นที่ที่

                  อาศัยอยูอยางเหมาะสมและไมกอใหเกิดปญหาในพื้นที่แหงอื่น และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ
                  ไดพระราชทานแนวพระราชดําริ  ไดแก  แนวทางปารักน้ําและบานเล็กในปาใหญ  เพื่อแกไขปญหาการอยู
                  รวมกันระหวางคนกับปา ใหสามารถอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุลและยั่งยืน
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218