Page 212 -
P. 212

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-79




                                โดยมีมาตรการในแนวทางดังกลาว รวมทั้งสิ้น 29 มาตรการ
                                กลไกการบริหารจัดการ ควรมีการปรับปรุงองคประกอบหนาที่ของคณะกรรมการที่
                  เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่ปาไมของชาติที่มีความหลากหลายซ้ําซอนกันใหเปนองคกรหรือ

                  คณะกรรมการระดับชาติเพียงคณะเดียวคือ คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ
                                เครื่องมือในการบริหารจัดการ  เชน  1)  ระบบสารสนเทศในพื้นที่ปาไมของชาติ    2)
                  กระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน  3) การประสาน สงเสริม สนับสนุนบทบาทขององคกรตางๆ รวมทั้งการ
                  ติดตามประเมินผล4)  กระบวนการแปลงแนวนโยบายและมาตรการหรือแผนไปสูการปฏิบัติ    5)  การจัดทําแผน

                  ประสานการปฏิบัติงานรวมกันขององคกรตางๆ  6) การจัดทําตัวชี้วัดความสําเร็จในการปฏิบัติงาน
                                ระยะเวลาดําเนินการ 10 ป (พ.ศ. 2547 – 2556)
                                ผลผลิต

                                1. ทุกภาคสวนมีฐานขอมูลที่เปนปจจุบันในการบริหารจัดการพื้นที่ปาไม
                                2. มีพันธมิตรและเครือขายชุมชนในการปองกัน ดูแล รักษาพื้นที่ปาไม และมีการบังคับใช
                  กฎหมายอยางเปนธรรม
                                3. มีระบบนิเวศปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพที่มีความสมดุล
                                4. ไดผลผลิตจากปาไมที่ตอบสนองตอความตองการของประชาชนอยางเพียงพอ

                                5. ชุมชนที่มีความเขมแข็ง มีจิตสํานึก เขาใจและรวมมือในการอนุรักษ ดูแล รักษาปาไม
                                6.  มีการกําหนดเขตเพื่อการสงวน อนุรักษ และใชประโยชนที่เหมาะสม เกื้อกูลกับสภาพ
                  นิเวศปาไม และเปนที่ยอมรับของทุกภาคสวน


                         วันที่ 4 พฤษภาคม 2547  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ เรื่องใหผอน
                  ผันใหบริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด ใชพื้นที่ปาไมในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 เอ และ 1 เอเอ็ม  เพื่อทํา
                  เหมืองแรอุตสาหกรรมชนิดหินปูน  ตามคําขอประทานบัตรที่ 7  –  9/2543,  11/2543    และคําขอจัดตั้ง

                  สถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแร  ที่ 1/2543  และ 1/2544  ทั้งนี้ใหผอน
                  ผันใหบริษัทปูนซิเมนตไทย ( ทาหลวง ) จํากัด  ใชเสนทางขนสงแรและโรงแตงแร  ตลอดจนอาคารและสิ่ง
                  ปลูกสรางเดิมที่ใชเพื่อทํากิจกรรมทําเหมืองที่ตั้งอยูในเขตคําขอประทานบัตร  และใชสถานที่เพื่อเก็บขังน้ํา
                  ขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแรที่ตั้งอยูในเขตคําขอจัดตั้งสถานที่เก็บขังน้ําขุนขนฯ ดังกลาว  หาก
                  การอนุญาตเขาทําประโยชนในเขตปาสงวนแหงชาติ  และการอนุญาตประทานบัตรใหมไมสามารถ

                  ดําเนินการแลวเสร็จกอนที่ประทานบัตรจะสิ้นอายุในเดือนมิถุนายน 2547  และใหดําเนินการตามมติ
                  คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติที่เกี่ยวของตอไป
                                กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอวา บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง)  จํากัด  ไดยื่นคําขอ

                  ประทานบัตรทําเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน  ตามคําขอที่  7  –  11/2543    จํานวน  5    แปลง
                  และคําขอจัดตั้งสถานที่เพื่อเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแร  ตามคําขอที่  1/2543
                  ,3/2543  และ  1/2544  จํานวน 3  แปลง  ทองที่ตําบลเขาวง  อําเภอพระพุทธบาท  จังหวัดสระบุรี  เปน
                  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ   ปาพระพุทธบาทและปาพุแค  โดยคําขอประทานบัตรที่  7  –  9/2543    และ

                  11/2543  และคําขอจัดตั้งสถานที่เพื่อเก็บขังน้ําขุนขนฯ ที่  1/2543   และ  1/2544ดังกลาว  อยูในพื้นที่
                  ลุมน้ําชั้นที่  1   เอ  และ  1   เอเอ็ม  ของลุมน้ําปาสัก  ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่  21  กุมภาพันธ
                  2538  โดยมีการอนุญาตใหเอกชนใชประโยชนที่ดินกอนที่จะมีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา  ดังนั้นการขอ
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217