Page 211 -
P. 211

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-78




                  ดําเนินการตามแผน พรอมทั้งรับความเห็นเพิ่มเติมกับขอสังเกตของคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ
                  คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 ไปพิจารณาดําเนินการตอไปดวย
                                สาระสําคัญของแผนสรุปได ดังนี้


                                สถานการณและประเด็นปญหา
                                การเพิ่มขึ้นของประชากร ความตองการขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การสรางชุมชน การ
                  ขยายตัวของกิจกรรมการผลิตภาคอุตสาหกรรม ไดทําใหพื้นที่ปาไมลดจํานวนลงอยางรวดเร็ว เห็นไดจากใน

                  ป พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีพื้นที่ปาไมประมาณ 171.0 ลานไร หรือรอยละ 53.3 ของพื้นที่ประเทศ และใน
                  ป พ.ศ.  2541  พบวา พื้นที่ปาไมของประเทศไทยเหลืออยูเพียง 81.0  ลานไร หรือรอยละ 25.3  ของพื้นที่
                  ประเทศ และในชวงระยะเวลาที่ผานมานั้น จะเห็นไดวาการควบคุมการใชประโยชนและการอนุรักษปาไม
                  ยังไมสามารถควบคุมการใชประโยชนจากพื้นที่ปาไมไดอยางมีประสิทธิภาพเทาที่ควร รวมทั้งการบริหาร

                  จัดการพื้นที่ปาไมที่ผานมามีการดําเนินการจัดทํานโยบายแผนและมาตรการ โดยหลายหนวยงานแตยังขาด
                  ความชัดเจน สอดคลอง และเชื่อมโยงที่เปนรูปธรรมในการจัดการพื้นที่ปาไมของชาติ ซึ่งในแผนยุทธศาสตร
                  นี้ ไดสรุปรวบรวมสถานการณและประเด็นปญหาของพื้นที่ปาไมในภาพรวมไดดังตอไปนี้  1) พื้นที่ปาลดลง
                  และมีสภาพเสื่อมโทรม  2) ขาดการกําหนดพื้นที่สงวน (Preserved area) เพื่อเปนความมั่นคงของประเทศ

                  3) การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ  4) พื้นที่ชุมน้ําถูกทําลายและเสื่อมโทรม  5) ยังไมมีกฎหมาย
                  การจัดการปาชุมชน  6)  การใชประโยชนเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่  7)  การลดลงของ
                  ทรัพยากรสัตวปาและขาดนโยบายการอนุรักษที่ชัดเจน  8)  การใชประโยชนพื้นที่ปาเศรษฐกิจขาดความ
                  สมดุลเหมาะสมกับศักยภาพ  9)  แนวทางการสงเสริมใหปลูกปาเศรษฐกิจไมชัดเจน  10)  ความตองการไมและ

                  ผลิตภัณฑจากไมมีมากขึ้น
                                วัตถุประสงค มีแผนยุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ปาไมของชาติแบบบูรณาการที่เปนกรอบ
                  และทางเลือกใหทุกภาคสวนนําไปดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล เพื่อดํารงไวซึ่ง

                  ความสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและความสมดุลของระบบนิเวศ
                                เปาหมาย
                                1. สงวนพื้นที่ปาไมธรรมชาติ เพื่อรักษาไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพและความสมดุล
                  ของระบบนิเวศอันเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารของประเทศ
                                2.  อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนํามาเปนทุนทางสังคมและใชประโยชน

                  อยางชาญฉลาดและยั่งยืน โดยผานกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน
                                แนวทางและมาตรการ
                                แนวทางที่ 1  : การพัฒนาองคความรู เพื่อการสงวน อนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรและใช

                  ประโยชนในพื้นที่ปาไม โดยใหทุกภาคสวนมีสวนรวม
                                แนวทางที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกันและดูแลรักษาพื้นที่ปาไม
                                แนวทางที่ 3 : การฟนฟูทรัพยากรปาไมใหดํารงไวซึ่งความสมดุล
                                แนวทางที่ 4 : การใชประโยชนทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืน

                                แนวทางที่ 5 : การสรางความเขมแข็งของชุมชน
                                แนวทางที่ 6 : การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216