Page 223 -
P. 223
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2-90
(3) พัฒนาระบบการจัดการรวมเพื่ออนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ
(3.1) ใหความสําคัญกับการกําหนดเขต และการจัดการเชิงพื้นที่ โดย
คํานึงถึงสภาพทางภูมิศาสตรและขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ สรางแนวกันเขตพื้นที่
อนุรักษ โดยจัดทําขอตกลงกับชุมชนทองถิ่น เพื่อปองกันการบุกรุกขยายพื้นที่ในอนาคต กําหนดเขตการใช
ประโยชนและกระจายการถือครองที่ดิน โดยรวมกับทองถิ่นกําหนดเขตการใชที่ดินและวางผังเมือง แกไข
ปญหาขอขัดแยงเรื่องการทับซอนของแนวเขตที่ดิน และจัดระเบียบการบุกรุกใชประโยชนที่ดินของรัฐ และ
พื้นที่ปาอนุรักษ กําหนดมาตรการเพื่อรักษาที่ดินที่เหมาะสมซึ่งรัฐไดลงทุนพัฒนาระบบชลประทานไวแลว
ใหเปนที่ดินสําหรับการเกษตรตลอดไป
(3.2) มีมาตรการประกาศภาวะฉุกเฉินหยุดใชชั่วคราว สําหรับทรัพยากร
ที่อยูในภาวะถูกทําลายสูง เพื่อใหทรัพยากรนั้นไดสรางตัวใหม และเกิดความยั่งยืน ในบางพื้นที่ที่มีความสําคัญสูง
โดยประกาศเปนพื้นที่ควบคุมอยางชัดเจน
(3.3) สรางกลไกแกไขปญหาความขัดแยงอยางสันติวิธี ยุติธรรมอยูบน
หลักเกณฑที่ทุกภาคสวนยอมรับ และบูรณาการใหเกิดความสมดุลในการปรับเปลี่ยนเปาประสงคและ
กระบวนการผลิตที่ไมยั่งยืนไปสูความสมดุลที่ไดจากการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพในอนาคต
(3.4) ฟนฟูสภาพปาใหเกิดความอุดมสมบูรณและคงความหลากหลาย
ทางชีวภาพโดยปฏิบัติตามมาตรการควบคุมการใชประโยชนอยางเขมงวด และปลูกปาเสริม กําหนด
มาตรการ “คนอยูรวมกับปา” โดยใหทํา กิจกรรมสนับสนุนการฟนฟูรักษาระบบนิเวศ และการใชประโยชน
จากทรัพยากรธรรมชาติโดยยังคงรักษาระบบนิเวศไวตลอดไป
(3.5) บริหารจัดการน้ําในลุมน้ําอยางบูรณาการ เพื่อใหมีน้ําในปริมาณ
และคุณภาพที่เหมาะสม สนองความตองการจําเปนในการดํารงชีวิตที่ดีและการผลิตทางเศรษฐกิจที่
พอเพียง โดย
1) อนุรักษฟนฟูปาตนน้ําลําธารใหเกิดความสมบูรณ ดวยการ
ปลูกปาเสริมสรางฝายในพื้นที่ตนน้ํา ปลูกหญาแฝกในพื้นที่ลาดชัน (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2549: 101)
ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดมีนโยบายการอนุรักษพื้นที่ปาไมและ
เหตุการณที่สําคัญตามลําดับเวลาดังนี้
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2549 พลเอกสุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของรัฐบาล
คณะที่ 56 ตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ มีสวนที่เกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไวในหัวขอ 2.2.8
ดังนี้
“2.2.8 การจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สรางความสมดุลระหวาง
การอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืนจากทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งทรัพยากร
ชีวภาพ เพื่อสรางความสมดุลคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีที่สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศ โดย
ใชมาตรการทางเศรษฐกิจที่ผสมผสานกับหลักการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการมีสวน
รวมและเกิดความเปนธรรมกับทุกฝาย” (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549: 4)