Page 177 -
P. 177

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-44




                                               2.1  จัดทําและกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ
                  นอกเขตปาอนุรักษใหชัดเจนเหมาะสมกับสภาพทรัพยากรดิน     เขตการใชประโยชนที่ดินชายฝงทะเลให
                  เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ  สังคม  และการอนุรักษสิ่งแวดลอมชายฝง  รักษาพื้นที่ชลประทานไวเพื่อ

                  การผลิตทางการเกษตร  รวมทั้งพิจารณาดานกฎหมาย  กฎระเบียบ  และมาตรการจูงใจ  เพื่อใหการ
                  กําหนดเขตบรรลุผลในทางปฏิบัติ
                                               2.2  กําหนดและวางแนวเขตนิเวศนทองถิ่น    โดยคํานึงถึงวัฒนธรรม
                  และประเพณีที่มีอยูหลากหลายของชุมชนเพื่อใหการดําเนินวิถีชีวิตและความเปนอยูของชุมชนมีสวน

                  สนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน”  (สํานักงานคณะกรรมการ
                  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2539: 143,145)

                         ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  8  มีนโยบายและเหตุการณที่สําคัญ

                  ตามลําดับเวลาดังนี้

                         วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539  คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ เรื่อง การยกเลิกการใหสัมปทานทํา
                  ไมในเขตปาไมชายเลน  ตามนัยมาตรา  68  ทวิ  แหงพระราชบัญญัติปาไม  พุทธศักราช  2484  ซึ่งแกไข
                  เพิ่มเติม  โดยพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปาไม  พุทธศักราช  2484  พ.ศ.  2532  เพื่อใหมี

                  การยกเลิกการใหสัมปทานทําไมในเขตปาไมชายเลนทั้งหมดตอไป  ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ
                  และใหความเห็นชอบเกี่ยวกับมาตรการและแนวทางปฏิบัติเพื่อฟนฟูปาชายเลน     รวมทั้งสนับสนุน
                  งบประมาณเพื่อดําเนินการตามแผนงานและโครงการรองรับมาตรการดังกลาว ดังนี้

                                1. จัดทํามาตรการเรงดวนเพื่อปองกัน อนุรักษ และฟนฟูสภาพแวดลอมปาชายเลน
                                  1.1 การปองกันพื้นที่ปาชายเลน
                                    1) ปรับปรุงและจัดทําเขตปาชายเลนใหชัดเจน สังเกตงาย เปนการถาวร สามารถ
                  ตรวจสอบไดโดยสะดวก รวดเร็ว

                                    2) จัดตั้งหนวยพิทักษปาชายเลนและจุดสกัด เพื่อเสริมกําลังและการปฏิบัติงาน
                  หนวยจัดการปาชายเลน     พรอมทั้งจัดจุดลาดตระเวนรวมระหวางเจาหนาที่ผูนําชุมชนทองถิ่นและ
                  หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ
                                    3) เผยแพรและประชาสัมพันธ เพื่อสรางจิตสํานึกและแนวรวมในการปองกันรักษาปาชายเลน

                                  1.2 การอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนและสภาพแวดลอม
                                    1)       สํารวจพื้นที่ปาชายเลนที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ และมีความ
                  หลากหลายทางชีวภาพที่มีคุณคาควรแกการสงวนรักษาไวเพื่อจัดตั้งเปนปาอนุรักษ
                                    2) พิจารณาจัดตั้งศูนย/สถานีวิจัยและพัฒนาปาชายเลน เพื่อเปนศูนยกลางในการ

                  ศึกษาวิจัยรวมกันในลักษณะเครือขายของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน
                  และองคกรระหวางประเทศ
                                  1.3 การสงเสริมและฟนฟูสภาพปาชายเลน

                                    1) ปลูกและบํารุงปาชายเลน โดยความรวมมือของประชาชนในทองถิ่น
                                    2) สงเสริมใหมีปาชายเลนชุมชน โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวม มีองคกร
                  ประชาชน กํากับดูแลและการบริการปาชุมชน เพื่อเปนแหลงผลิตไมสําหรับใชสอย
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182