Page 178 -
P. 178

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-45




                                    3) จัดทําแหลงผลิตเมล็ดพันธุปาไมชายเลน ทั้งแหลงผลิตในปาธรรมชาติและสวน
                  ผลิตเมล็ดพันธุไม
                                  1.4      การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการถายทอดเทคโนโลยีและการติดตาม

                  ประเมินผล
                                    1) สงเสริมการถายทอดความรูดานการอนุรักษ การปลูกปา และการใชทรัพยากร
                  ปาไมชายเลนอยางมีประสิทธิภาพ
                                    2) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานอยางเปนระบบและสม่ําเสมอ


                                2.  เพื่อใหมีการถายทอดมาตรการไปสูการปฏิบัติอยางตอเนื่อง รวดเร็ว และเปนรูปธรรม
                  สมควรมีโครงการรองรับมาตรการคือ โครงการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน โดยแยกออกเปน 4  แผนงาน
                  ระยะเวลาดําเนินการ 5      ป คือ แผนงานปองกันพื้นที่ปาชายเลน แผนงานอนุรักษทรัพยากรและ

                  สภาพแวดลอมปาชายเลน   แผนงานสงเสริมและฟนฟูปาชายเลน และแผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการ
                  บริหารการถายทอดเทคโนโลยีและการติดตามประเมินผล
                                      อนึ่งสําหรับงบประมาณในการดําเนินงาน ใหทําความตกลงกับสํานักงบประมาณตอไป

                         วันที่ 11 ธันวาคม 2539  พลเอกชวลิต  ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 52
                  ตอรัฐสภา มีสวนที่เกี่ยวของกับปาไมในนโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขอ 8.1 และ 8.2 ดังนี้.
                                “8.1 ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับปาไมทั้งหมดใหสอดคลองกันและเรงรัดการออกกฎหมาย
                  วาดวยปาชุมชนเพื่อใหคนและปาสามารถอยูรวมอยางเกื้อกูลกัน

                                8.2 ปองกันและปราบปรามการบุกรุกและการตัดไมทําลายปา   อนุรักษปาตนน้ํา  ลําธาร
                  ปาชายเลน และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรม” (สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2540 : 459)

                         วันที่  22  เมษายน 2540  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาที่ดินทํา

                  กิน  และการบุกรุกปาสงวนแหงชาติและอุทยานแหงชาติในจังหวัดนครราชสีมา ตามที่สํานักเลขาธิการ
                  คณะรัฐมนตรีเสนอ โดยใหสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของรับไปดําเนินการ  ดังนี้
                                1)   ใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ   (  กรมปาไม )  เรงรัดจัดทํารางพระราชกฤษฎีกา
                  ปรับปรุงแนวเขตอุทยานแหงชาติทับลานตามที่ไดดําเนินการกันพื้นที่ไวแลว ในเขตอําเภอวังน้ําเขียว รวม

                  8  จุด  เนื้อที่ประมาณ   21,135 ไร  ในเขตอําเภอเสิงสาง  รวม  4 จุด   เนื้อที่ประมาณ   14,850   ไร
                  และในเขตอําเภอครบุรี จํานวน 1  จุด เนื้อที่ประมาณ 622  ไร โดยใหนํารางพระราชกฤษฎีกาฯ  เสนอ
                  คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายใน  3  เดือน  นับแตวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในเรื่องนี้
                                2)  ใหกรมปาไมสงมอบพื้นที่ให   ส.ป.ก.   นับแตวันที่พระราชกฤษฎีกาปรับปรุงแนวเขต

                  อุทยานแหงชาติทับลาน มีผลใชบังคับและให ส.ป.ก.  เรงรัดดําเนินการปฏิรูปที่ดินและออกเอกสารสิทธิ
                  ส.ป.ก.  4-01  ใหแกเกษตรกรในพื้นที่ดังกลาวตามขั้นตอนปฏิบัติภายใน  9  เดือน   นับแตวันที่กรมปาไม
                  สงมอบพื้นที่  โดยใหกันพื้นที่ที่เปนสุขาภิบาลและชุมชนออกจากเขตปฏิรูปที่ดิน
                                3)  เห็นควรมอบใหกรมปาไม และ ส.ป.ก.  รวมกันตรวจสอบพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ  (Zone E)

                  ในสวนที่ยังมีสภาพปาสมบูรณและไมเหมาะกับการเกษตรกรรม  และสงมอบพื้นที่คืนใหกรมปาไมดูแล
                  รักษาตอไป
                                4) ใหกรมปาไมจัดทําแนวเขตปาอนุรักษใหชัดเจน และประชาสัมพันธใหเปนที่รับรูของทุกฝาย
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183