Page 180 -
P. 180

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-47




                                  2.11 อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกนไดแตงตั้งคณะทํางานจัดทําขอบเขตที่
                  ทํากินของราษฎร จํานวน 3  หมูบาน คือ บานตาดฟา และบานดงสะคราน อําเภอภูผามาน และบานซํา
                  ผักหนาม อําเภอชุมแพ สวนกรณีรองเรียนของราษฎรจังหวัดเลย จังหวัดเลยไดแตงตั้งคณะทํางาน

                  ตรวจสอบพื้นที่และขอเท็จจริงแลว ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการสํารวจพื้นที่ทํากิน

                                นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้
                                1.  ใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กรมปาไม)  รับไปเรงรัดดําเนินการใหเปนไปตามผล

                  การพิจารณาของคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานในสวนที่ตกลงกันได
                                2.  กรณีอุทยานแหงชาติภูพาน เนื่องจากยังไมสามารถจัดหาที่ดินหรือจายเงินชดเชยได
                  และกรณีอุทยานแหงชาติภูเกา -  ภูพานคํา ใหประธานคณะกรรมการศูนยอํานวยการรวมแกไขปญหา
                  เกษตรกรภาคอีสาน (รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายชิงชัย  มงคลธรรม)  รับไปเรงรัดเจรจากับ

                  กลุมผูเรียกรองโดยดวนตอไป
                                3. กรณีอุทยานแหงชาติไทรทอง ใหกระทรวงมหาดไทย (จังหวัดชัยภูมิ) เรงรัดดําเนินการ
                  สํารวจเพื่อกันพื้นที่ทํากินออกจากเขตอุทยานแหงชาติไทรทองโดยดวน

                         วันที่  22 เมษายน  2540  คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบมาตรการและแนวทางการแกไขปญหา

                  ที่ดินทํากิน และการบุกรุกพื้นที่ปาสงวนและอุทยานแหงชาติในภาพรวมทั้งประเทศ
                                คณะรัฐมนตรีไดพิจารณาเห็นชอบมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาเกี่ยวกับพื้นที่
                  ปาไม ซึ่งจําแนกเปน 5 ประเภท ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของถือ

                  ปฏิบัติตอไป ดังนี้
                                1. ปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี
                                เมื่อราษฎรเสนอปญหาเรียกรองใหเพิกถอนเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ให
                  คณะอนุกรรมการจําแนกประเภทที่ดินประจําจังหวัดแตงตั้งคณะทํางานตรวจสอบพื้นที่  เมื่อ

                  คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาผลการตรวจสอบคณะทํางานฯ แลวใหนําเสนอคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน
                  พิจารณาเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเปลี่ยนแปลงมติคณะรัฐมนตรีกําหนดเขตปาไมถาวรเสียใหมให
                  สอดคลองกับความเปนจริง โดยจําแนกเปนพื้นที่ทํากินหรือพื้นที่ใชประโยชนอยางอื่นๆ แลวมอบให
                  หนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการตอไป เชน ส.ป.ก. และกรมที่ดิน เปนตน

                                2. ปาสงวนแหงชาติ
                                เนื่องจากราษฎรไดเรียกรองใหกรมปาไมมอบพื้นที่ให ส.ป.ก.   และให ส.ป.ก.   เรงรัด
                  การออกเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 และจากขอเท็จจริงปรากฏวา กรมปาไมไดมอบพื้นที่ปาสงวนแหงชาติให ส.
                  ป.ก.  นําไปดําเนินการตามกฎหมายปฏิรูปที่ดินแลว ประมาณ 44  ลานไร ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4

                  พฤษภาคม 2536  แตเกิดปญหาความคลาดเคลื่อนของแผนที่ มีการมอบพื้นที่ที่ไมสมควรจะนําไปปฏิรูป
                  ที่ดินให ส.ป.ก. จึงไดมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2538  ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกลาว  กรม
                  ปาไม และ ส.ป.ก.  ไดทําบันทึกขอตกลงในการกันพื้นที่ปาสงวนแหงชาติกลับคืนกรมปาไม โดยจะกันพื้นที่

                  ดังนี้ออก คือ พื้นที่ที่มีสภาพเปนปา พื้นที่ที่มีสภาพหรือศักยภาพทําการเกษตรไมคุมคา พื้นที่ที่ลอแหลม
                  คุกคามตอระบบนิเวศน และพื้นที่ที่ควรอนุรักษไวใหชุมชนใชประโยชนรวมกัน พื้นที่ภูเขาสูงชันหรือพื้นที่ที่
                  มีความลาดชันโดยเฉลี่ยตั้งแตรอยละ 35 ขึ้นไป และพื้นที่ตนน้ําลําธาร   พื้นที่ที่กรมปาไมมีภาระผูกพันตาม
                  กฎหมาย   พื้นที่ปาชายเลน  พื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่ยังไมมีราษฏรถือครองทํากิน  ดังนั้น จึงให
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185