Page 181 -
P. 181

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-48




                                    1) กรมปาไม และ ส.ป.ก. ปฏิบัติตามขอตกลง โดยเรงรัดดําเนินการใหแลวเสร็จทุกปาโดยเร็ว
                                     2) ให ส.ป.ก. นําผลการปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงไปเรงรัดกําหนดเขตปฏิรูปที่ดินโดยเร็ว
                                    3) เพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนของราษฎร ปาใดที่ผานการปฏิบัติตามบันทึกขอตกลง

                  แลว และยังไมมีพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปที่ดิน ให ส.ป.ก. ออกเอกสาร ส.ป.ก. 4-98 ใหราษฎรกอน เมื่อ
                  มีพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปที่ดินแลว ให ส.ป.ก. เรงรัดออกเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 ใหกับราษฎรโดยเร็ว
                                   4)  พื้นที่ที่ไมสมควรจะนําไปปฏิรูปที่ดิน ใหกรมปาไมพิจารณากําหนดเปนปาสงวน หรือ
                  สงวนไวเปนพื้นที่ปาไมประเภทตางๆ หรือใหดําเนินการตามกิจกรรมของกรมปาไมตามหนาที่และความ

                  รับผิดชอบ
                                3. ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี
                                เนื่องจากราษฎรเรียกรองใหปรับแนวเขตปาอนุรักษซึ่งทับกับที่ทํากินของราษฎร

                  ขอเท็จจริงสรุปไดวาคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 10  และวันที่ 17  มีนาคม 2535  จําแนกเขตการใช
                  ประโยชนทรัพยากรที่ดินและปาไมของประเทศเปน 3 พื้นที่ คือ พื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (Zone C) พื้นที่
                  ปาเพื่อเศรษฐกิจ (Zone  E)  และพื้นที่ปาที่เหมาะสมตอการเกษตร  (Zone  A)  การจําแนกอาจมีการ
                  คลาดเคลื่อนจากสภาพขอเท็จจริงในบางพื้นที่ ราษฎรจึงเรียกรองใหมีการปรับแนวทางเขตใหถูกตองตาม
                  ขอเท็จจริง ซึ่งในเรื่องนี้ไดมีการแกไขปญหาโดยวิธีการปฏิรูปที่ดินสําหรับเขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ (Zone

                  E) และเขตพื้นที่ปาที่เหมาะสมตอการเกษตร (Zone A) ที่เสื่อมสภาพหรือมีราษฎรอยูอาศัยทํากินแลว แต
                  สําหรับปาเพื่อการอนุรักษ (Zone  C)  มติคณะรัฐมนตรีดังกลาวขางตนไดกําหนดใหมีการปรับปรุงแนวเขต
                  ได โดยใหมีคณะทํางาน 5  ฝาย คือ ผูแทนฝายปกครองระดับพื้นที่ (นายอําเภอ หรือ ปลัดอําเภอ)  เปน

                  หัวหนาคณะทํางาน ผูแทนสํานักงานปาไมเขต ผูแทนราษฎรในพื้นที่เปนคณะทํางาน และผูแทนสํานักงาน
                  ปาไมจังหวัด เปนคณะทํางานและเลขานุการ ดังนั้น เมื่อราษฎรเรียกรองเสนอปญหาใหปรับปรุงแนวเขตปา
                  เพื่อการอนุรักษ ใหจังหวัดแตงตั้งคณะทํางาน 5   ฝาย ตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวขางตน     เมื่อ
                  คณะทํางาน   5  ฝาย      สํารวจพื้นที่เสร็จแลวใหเสนอคณะอนุกรรมการปองกันและปราบปรามการ

                  ลักลอบทําลายทรัพยากรปาไมประจําจังหวัดพิจารณา  และสงใหสํานักงานปาไมเขตดําเนินการรังวัด ปก
                  เขต ปรับปรุงแผนที่ แลวสงใหกรมปาไมดําเนินการนําเสนอตอกระทรวงเกษตรและสหกรณและ
                  คณะรัฐมนตรีตอไป และเพื่อใหการแกไขปญหาเดือดรอนของราษฎรเปนไปดวยความรวดเร็วจึงให
                                  3.1 เรงรัดดําเนินการปรับแนวเขตปาเพื่อการอนุรักษในพื้นที่ที่มีปญหาราษฎร

                  เรียกรองใหแลวเสร็จโดยเร็วกอนเปนอันดับแรก แลวนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบมอบ
                  บริเวณพื้นที่ที่ปรับออก ให ส.ป.ก. นําไปปฏิรูปที่ดิน
                                  3.2  ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรีอื่นๆ ที่ไมมีปญหาราษฎรเรียกรอง ใหเรงรัด
                  ดําเนินการปรับแนวเขตใหถูกตอง สอดคลองตามภูมิประเทศไปพรอมกัน

                                  3.3  พื้นที่ที่ผานการปรับแนวเขต และมีความเหมาะสมที่จะกําหนดไวเปนปาเพื่อการ
                  อนุรักษ โดยไมมีปญหาความเดือดรอนของราษฎร ใหกรมปาไมกําหนดเปนปาอนุรักษตามกฎหมายและ
                  ความเหมาะสมในแตละพื้นที่ ทั้งนี้ ใหกรมปาไมจัดทําแนวเขตที่ชัดเจน และปองกันดูแลคุมครองอยาง
                  เขมงวด ไมใหราษฎรบุกรุกเขาไปยึดถือครอบครองอยูอาศัยทํากิน หากมีการบุกรุกเขาไปยึดถือครอบครอง

                  ใหดําเนินการตามกฎหมายอยางเฉียบขาด
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186