Page 172 -
P. 172

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-39




                         วันที่  13  มีนาคม 2535 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535 ในราชกิจจา
                  นุเบกษา  เลม 109  ตอนที่ 20  โดยมีเหตุผลในการประกาศใช  ดังนี้
                                “เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐบาลมีนโยบายในการ

                  สงเสริมใหมีการปลูกสรางสวนปาเพื่อการคาในที่ดินของรัฐและของเอกชนใหกวางขวางยิ่งขึ้น แต
                  เนื่องจากพระราชบัญญัติปาไมพุทธศักราช 2484  ซึ่งใชบังคับอยูในขณะนี้มิไดมีบทบัญญัติรองรับและ
                  คุมครองสิทธิการทําไมหวงหามที่ไดจากการปลูกสรางสวนปา สมควรใหมีกฎหมายวาดวยสวนปา เพื่อ
                  เปนการสนับสนุนและสงเสริมใหมีการปลูกสรางสวนปาดังกลาว อีกทั้งเพื่อเปนการสงเสริมอาชีพให

                  ประชาชนมีงานทําและผลิตไมเพื่อเปนสินคา ตลอดจนเพิ่มพื้นที่ทําไมใหมีปริมาณมากขึ้น เชน การ
                  ไดรับยกเวนคาภาคหลวงและการไมอยูภายใตบังคับกฎเกณฑบางประการ ตามที่กําหนดไวใน
                  พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช  2484   จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ ”

                         วันที่  17    มีนาคม  2535   คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผลการจําแนกเขตการใชประโยชน
                  ทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติเพิ่มเติม ในพื้นที่ 44   จังหวัด คือ  พะเยา  ลําพูน
                  แมฮองสอน  พิษณุโลก  อุตรดิตถ  พิจิตร  ชัยนาท  จันทบุรี  ตราด  สมุทรสาคร  ปราจีนบุรี  ฉะเชิงเทรา
                  บุรีรัมย  สุรินทร  ศรีสะเกษ  ยโสธร  ขอนแกน  มหาสารคาม  รอยเอ็ด  กาฬสินธุ  หนองคาย  ภูเก็ต

                  กระบี่  สงขลา  ยะลา  เชียงราย  เชียงใหม  แพร  นาน  ราชบุรี  กาญจนบุรี  สุพรรณบุรี  เพชรบุรี
                  นครสวรรค  กําแพงเพชร  อุทัยธานี  ชัยภูมิ  อุบลราชธานี  นครศรีธรรมราช  พังงา  พัทลุง  สตูล
                  ปตตานี และนราธิวาส  โดยจําแนกออกเปน  3  เขต  เชนเดียวกับมติคณะรัฐมนตรี  เมื่อวันที่  10
                  มีนาคม  2535

                         จากมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ผลจากการจําแนกเขตการใชประโยชน
                  ทรัพยากรและที่ดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติมีดังตอไปนี้
                                (1) โซนที่เหมาะสมตอการเกษตร (A)    มีจํานวน 7,222,540 ไร

                                (2) โซนเศรษฐกิจ (E)                 มีจํานวน 51,887,091 ไร
                                (3) โซนอนุรักษ (C)                 มีจํานวน 88,233,415 ไร
                                                             รวม  147,343,046 ไร

                         วันที่ 17 มีนาคม  2535   คณะรัฐมนตรีมีมติเรื่องโครงการสํารวจสถานที่ราชการ  บานเรือน

                  ที่ดินทํากินของราษฎร  และถนนที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติ  ในพื้นที่ที่จําแนกใหเปนเขตปาไมถาวรและ
                  เขตที่สาธารณะประโยชน  ดังนี้
                                “โดยที่มาตรการในการแกไขปญหาการถือครองในเขตปาสงวนแหงชาติ  ในพื้นที่ที่จําแนก
                  ใหเปนเขตปาไมถาวรและที่สาธารณะประโยชน  ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ    เปนการเปลี่ยนแปลง

                  หลักเกณฑมติคณะรัฐมนตรี  เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2528 เรื่องการชวยเหลือราษฎรตามโครงการเพิกถอน
                  สภาพปาที่เปนที่ตั้งชุมชน ซึ่งแบงการชวยเหลือออกเปน 3 กลุม และจะมีผลกระทบตอการรักษาพื้นที่ปาใน
                  เขตปาสงวนแหงชาติมากจึงไมอนุมัติใหดําเนินการตามมาตรการฯที่กระทรวงมหาดไทยเสนอและใหคงถือ
                  ปฏิบัติตามหลักคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2528 โดยใหกระทรวงมหาดไทยประสานกับกระทรวง

                  เกษตรและสหกรณ ในการดําเนินการแกไขปญหาดังกลาวตอไป”
                                กระทรวงมหาดไทย  เสนอคณะรัฐมนตรีใหเพิกถอนสถานที่ราชการ  ชุมชนถาวร  ศาสนสถาน
                  สาธารณูปโภค  ออกจากเขตปาสงวนแหงชาติ
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177