Page 167 -
P. 167

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-34




                                                             (ค) การปลูกปาชุมชนสนับสนุนองคกรประชาชนใน
                  ระดับทองถิ่นใหรวมมือกันปลูกปา และแบงปนผลประโยชนที่ไดรับจากปาปลูก โดยเนนพันธุไม
                  เอนกประสงค รวมทั้งสนับสนุนใหมีการใชประโยชนจากไมอยางประหยัด (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา

                  เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2529: 134,136-137)
                         ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 มีนโยบายและเหตุการณที่สําคัญ ดังนี้

                         วันที่  12  เมษายน  2531   คณะรัฐมนตรีมีมติ  เรื่องการขีดแนวเขตปาไมลงในระวางรูปถายทาง

                  อากาศ โดยใหดําเนินการดังนี้
                                “1. การขีดแนวเขตปาไมถาวรใหกรมที่ดินเปนผูดําเนินการ กรมพัฒนาที่ดินตรวจสอบ
                  แลวลงนามรับรอง  แลวใหกรมที่ดินสงใหกรมปาไมทราบและดําเนินการตามอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวของ
                  โดยใหกรมปาไมรับรองในสวนของแนวเขตปาสงวนแหงชาติ    แนวเขตอุทยานแหงชาติ  หรือแนวเขต

                  รักษาพันธุสัตวปาที่สงวนหวงหามไวใหญกวาแนวเขตปาไมถาวรของชาติ  ภายใน  1  เดือน  ถาไมทันก็
                  ใหแจงกรมที่ดินทราบวาจะแลวเสร็จเมื่อใด”

                         วันที่ 25 สิงหาคม 2531 พลเอกชาติชาย  ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของรัฐบาลคณะที่
                  45 ตอรัฐสภา มีสวนที่เกี่ยวของกับปาไมในนโยบายเศรษฐกิจ ขอ 5 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนี้

                                “ 5. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                        5.1 ปรับปรุงระบบการบริหารแลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อัน
                  ประกอบดวยที่ดิน แหลงน้ํา ปาไม ประมง แรธาตุ และพลังงานในทองถิ่นทั่วประเทศ เพื่อใหเกิดประโยชน

                  สูงสุดตอประเทศชาติ และคุณภาพชีวิตของประชาชน” (สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร , 2540: 319)

                         วันที่  22 พฤศจิกายน 2531 ไดเกิดอุทกภัยและแผนดินถลมที่จังหวัดสุราษฎรธานีและ
                  นครศรีธรรมราชในทองที่กะทูน  คลองดินแดง นาสาร และคลองอูตะเภา  มีผูสูญเสียชีวิตทั้งสิ้น  374 คน

                  ทรัพยสินสูญหายเปนมูลคา 7,540 ลานบาท (ประเสริฐ  มิลินทางกูร, 2533: 27) การเกิดอุทกภัยครั้งนี้ไดมี
                  ผลกระทบตอนโยบายปาไม  โดยไดมีการยกเลิกสัมปทานปาไมในป 2532
                         วันที่ 13 ธันวาคม 2531 นายกรัฐมนตรีไดมีคําสั่งที่ 1/2531 เรื่องกําหนดมาตรการเพื่อรักษา
                  คุณภาพสิ่งแวดลอมบริเวณภาคใตของประเทศไทย เนื่องจากมีอุทกภัยรายแรงเกิดขึ้นในบริเวณภาคใตเมื่อ
                  เดือนพฤศจิกายน 2531 เปนเหตุใหเกิดการสูญเสียแกชีวิตและทรัพยสินของราษฎรเปนอันมากสาเหตุที่

                  สําคัญสวนหนึ่งเกิดจากพื้นที่ปาไมถูกทําลาย
                                “รัฐมนตรีจึงมีคําสั่งใหผูรับสัมปทานทําไม   ที่ไดรับสัมปทานทําไมหวงหามทุกชนิด
                  (เวนสัมปทานทําไมปาชายเลน)  ตามพระราชบัญญัติปาไม  พุทธศักราช  2484  ในทองที่เขตจังหวัด

                  ชุมพร  จังหวัดระนอง  จังหวัดสุราษฎรธานี  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จังหวัดยะลา  จังหวัดนราธิวาส
                  จังหวัดพังงา  จังหวัดกระบี่  จังหวัดตรัง  จังหวัดพัทลุง  จังหวัดสงขลา  จังหวัดสตูล  หยุดการทําไม
                  ในบริเวณพื้นที่ดังกลาว ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป”

                           วันที่ 12 มกราคม 2532 ไดมีการประกาศใชพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปาไม
                  พุทธศักราช 2484  พ.ศ. 2532   โดยมีสาระสําคัญ คือ การใหสัมปทานปาไมสิ้นสุดลง เวนสัมปทานปาไม
                  ปาชายเลน เหตุผลในการประกาศใชพระราชกําหนดฉบับนี้ คือ  โดยที่ปจจุบันสภาพปาไมของประเทศได
                  ถูกทําลายจนทําใหสภาพแวดลอมธรรมชาติขาดความสมดุล อันจะยังผลใหภัยพิบัติสาธารณะดังเชนที่
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172