Page 165 -
P. 165

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-32




                                   2.6 ในกรณีที่มีสวนราชการใด มีความจําเปนตองใชที่ดินอยางหลีกเลี่ยงไมไดก็ให
                  ดําเนินการตามมติ ครม. และกฎหมายที่เกี่ยวของ

                             3. มาตรการการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่เขตเศรษฐกิจ  ข.

                                ในพื้นที่เขตนี้ เห็นสมควรใหมีมาตรการการใชที่ดิน ดังตอไปนี้
                                        3.1  การใชพื้นที่ทํากิจการดานประมง  เหมืองแร  กสิกรรมหรือกิจการอื่นๆ  ตองมี
                  การควบคุมวิธีการปฎิบัติอยางเขมงวด เพื่อใหเปนไปตามหลักอนุรักษทรัพยากรปาไม

                                      3.2 ในการอนุญาตใชพื้นที่ จะตองคํานึงถึงผลดีผลเสียทางดานสิ่งแวดลอมดวย
                                          3.3 การขอใชพื้นที่เพื่อกิจการตางๆ ใหดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายที่
                  เกี่ยวของ”

                         2.4.6 นโยบายการอนุรักษพื้นที่ปาไมและเหตุการณที่สําคัญในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                  สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)
                                แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ไดกําหนดแผนที่
                  เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมไวในบทที่ 4 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                  โดยกําหนดเปาหมายไวในขอ 3.3 ดังนี้

                                        “3.3 แนวทางการพัฒนา แนวทางหลักในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอมในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 ประกอบดวย
                                               (1) จัดทําแผนงานและโครงการสําคัญๆ ของทรัพยากรธรรมชาติแตละ

                  ชนิดใหครบถวนสมบูรณ เชน โครงการพัฒนาทรัพยากรธรณี โครงการพัฒนาบอนํ้าตื้นเพื่อเปนแหลงนํ้า
                  เสริมการเกษตร เปนตน
                                               (2) จัดทํา แผนงานและโครงการที่เนนดานการประสานการบริหารและ
                  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั้งระบบ โดยยึดพื้นที่เปนหลัก เชน โครงการจัดทําแผน

                  แมบทการจัดการอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา แผนพัฒนาและจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
                  บริเวณชายฝงทะเล เปนตน
                                               (3) จัดทํา แผนงานและโครงการเพื่อสรางเครื่องมือในการประสานการ
                  บริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน โครงการจัดระบบขอมูลและการจัดตั้งศูนยขอมูล

                  ทรัพยากรธรรมชาติแตละชนิด โครงการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติแตละชนิด เปนตน

                                ในสวนของแนวทางการพัฒนานั้น ไดกําหนดไวในขอ 4.2 ดังนี้
                                        4.2 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรปาไม

                                               (1)  การพัฒนาทรัพยากรปาไมที่ผานมาในอดีตเนนเฉพาะดานการอนุรักษ
                  โดยใชมาตรการปองกันและควบคุม  ละเลยบทบาททางเศรษฐกิจของปาไมและละเลยตอบทบาทของประชาชนและ
                  องคกรในระดับทองถิ่น การพัฒนาปาไมในลักษณะดังกลาวจึงไมประสบผลดีเทาที่ควร กลาวคือ พื้นที่ปาไมมี
                  แนวโนมลดลงอยางรวดเร็วตลอดระยะเวลาที่ผานมา     ดังนั้นในระยะตอไปจะขยายขอบเขตการพัฒนา

                  ทรัพยากรปาไมใหมีความสําคัญทั้งในดานเศรษฐกิจและการอนุรักษควบคูกันไป  โดยกําหนดเปาหมายระยะ
                  ยาวใหมีพื้นที่ปาไมซึ่งรวมสวนปาของเอกชนไมนอยกวารอยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170