Page 166 -
P. 166

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-33




                                               (2) แนวทาง
                                                      (2.1) สนับสนุนใหประชาชนและองคกรในระดับทองถิ่นมี
                  บทบาทและมีสวนรวมในการพัฒนาทรัพยากรปาไมใหมากที่สุด

                                                      (2.2) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ที่เปนอุปสรรคตอ
                  การพัฒนาทรัพยากรปาไม และเพื่อลดปญหาความขัดแยง
                                                      (2.3) ปรับปรุงการบริหารและการจัดการทรัพยากรปาไม โดย
                  การจัดทําเครื่องมือพื้นฐานใหสมบูรณ

                                               (3) มาตรการ เพื่อความชัดเจนในการกํา หนดขอบเขตบทบาทความ
                  รับผิดชอบระหวางรัฐกับเอกชนและประชาชนในการพัฒนาทรัพยากรปาไม รวมทั้งเพื่อประโยชนในการ
                  จัดทําแผนงานและโครงการการพัฒนาทรัพยากรปาไมใหสอดคลองกับลักษณะและปญหาของพื้นที่ปาไมแต

                  ละประเภท จึงแบงพื้นที่ปาไมเปน 2 ลักษณะ คือ
                                                      (3.1) ปาเพื่อการอนุรักษ ไดแก วนอุทยาน อุทยานแหงชาติ
                  เขตรักษาพันธุสัตวปา ปาตนนํ้าลําธารชั้น 1 เพื่อใหเหมาะสมกับหลักเกณฑการอนุรักษ จึงกําหนดใหมีพื้นที่
                  ปาอนุรักษรอยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ
                                                             (3.1.1) รัฐจะดําเนินการปองกันรักษาพื้นที่ปาไมเพื่อ

                  การอนุรักษดังกลาวอยางจริงจัง
                                                             (3.1.2) รัฐจะบริหารและจัดการใหเอกชนเขามามีสวน
                  รวมพัฒนาพื้นที่ปาอนุรักษในบางพื้นที่ โดยไมมีผลกระทบกระเทือนตอการอนุรักษปาไม

                                                      (3.2) ปาเศรษฐกิจ คือพื้นที่ปาไมที่สามารถใชประโยชนทาง
                  เศรษฐกิจไดและเปนพื้นที่นอกเหนือจากปาอนุรักษ เพื่อใหมีปริมาณไมใชสอยเพียงพอในประเทศจึง
                  กําหนดใหมีพื้นที่ปาไมเศรษฐกิจรอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
                                                             (3.2.1) รัฐจะดําเนินการจําแนกพื้นที่ปาไมเศรษฐกิจที่

                  ถูกบุกรุกและมีสภาพเสื่อมโทรมออกจากพื้นที่ปาที่มีสภาพสมบูรณ พื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่มีความเหมาะสมใน
                  การทําการเกษตร สนับสนุนใหเอกชนทําการเกษตรควบคูกับการปลูกปา สําหรับพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่ไม
                  เหมาะสมกับการทําการเกษตรสนับสนุนใหเอกชนปลูกปา ทั้งนี้เพื่อเปนการปรับสภาพดิน ทดแทนปาไม
                  เสื่อมโทรมและเพื่อเสริมรายได

                                                             (3.2.2) สนับสนุนและสงเสริมบทบาทเอกชนและประชาชน
                  ในทองถิ่นใหมีสวนรวมในการบริหาร จัดการและพัฒนาทรัพยากรปาไมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คุณภาพ
                  และประหยัด โดยเนนใหมีการสนับสนุนการปลูกปา 3 ประเภท คือ
                                                             (ก) การปลูกปาไมโตเร็วและสวนผลไม มีหลักเกณฑ

                  การสนับสนุนโดยพิจารณาความเหมาะสม 2 ประการ คือ พันธุไมและพื้นที่ปลูก กลาวคือจะตองเปนพันธุไมที่มี
                  โอกาสเปนพืชเศรษฐกิจ สอดคลองกับความตองการของตลาดอยางแทจริงและเปนประโยชนตอการอนุรักษดิน
                  และนํ้า สําหรับพื้นที่ปลูกจะตองคํานึงถึงความเหมาะสมของดินและการนํา ไปใชประโยชนในแตละพื้นที่
                                                             (ข) การปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจ สนับสนุนใหมีการ

                  ปลูกไมสักทั้งภาคเอกชนและภาครัฐบาล เพื่อใหประเทศรักษาสภาพของความเปนผูนํา ในการสงออกไมสัก
                  คุณภาพดีไดตอไป
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171