Page 171 -
P. 171

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-38




                                ในสวนของแนวทางและมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมไดกําหนดไวใน ขอ 3.2.2 ดังนี้
                                        “3.2.2 ทรัพยากรปาไม
                                          (1) แนวทางและมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมในพื้นที่เขตปาอนุรักษ

                  และนอกเขตปาอนุรักษ ประกอบดวย
                                               (1.1) เรงรัดการจัดทําแผนการบริหารและจัดการในการรักษาพื้นที่ปาไม
                  ในเขตอนุรักษ โดยเปดโอกาสใหสวนราชการและผูนํา ในระดับทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผน
                  ดังกลาวในแตละแหง

                                               (1.2) ควบคุมดูแลใหสามารถปฏิบัติไดตามแผนบริหารและจัดการพื้นที่
                  ปาอนุรักษที่มีอยู โดยเนนใหมีการประเมินผลอัตราการทํา ลายทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ดังกลาวเปน
                  ระยะๆ อยางเปดเผย รวมทั้งการสนับสนุนดานงบประมาณ

                                               (1.3) กําหนดและทําเครื่องหมายแนวเขตพื้นที่ปาอนุรักษและพื้นที่ปา
                  นอกเขตอนุรักษในแตละแหงใหชัดเจน
                                              (1.4) เรงรัดการออกกฎหมายรองรับการอนุรักษพื้นที่ปาตนนํ้าลําธาร

                                        (2) แนวทางและมาตรการบริหารและจัดการทรัพยากรปาไมทั่วไป ประกอบดวย

                                               (2.1)  ใหประชาชนในทองถิ่นเขารวมในการบริหารและจัดการทรัพยากรปาไม
                  โดยเรงรัดการออกกฎหมายรองรับปาชุมชนเพื่อสนับสนุนประชาชนและองคกรปาชุมชนเพื่อสนับสนุนประชาชน
                  และองคกรประชาชนใหมีอํานาจตามกฎหมายในการมีสวนรวมปลูกปองกันรักษาและใชประโยชนชุมชน
                                               (2.2) เรงรัดการออกพระราชบัญญัติสวนปา เพื่อใหเอกชนที่ดําเนินการ

                  ปลูกปามีความมั่นใจในการลงทุนและไดรับและไดรับสิทธิประโยชนที่จะพึงไดรับ
                                               (2.3) ใหมีการตรวจสอบสถานการณปาไมไดอยางรวดเร็ว โดยใช
                  เทคโนโลยีสมัยใหม เชน ภาพถายดาวเทียมและระบบสนเทศภูมิศาสตร เพื่อเปนฐานขอมูลสําหรับการ

                  บริหารและจัดการทรัพยากรปาไมรวมกับอื่นทรัพยากรอื่นๆ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
                  และสังคมแหงชาติ, 2534: 231, 235-236)

                         ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 ไดมีนโยบายและเหตุการณที่สําคัญ
                  ตามลําดับเวลา ดังนี้

                         วันที่  30  ธันวาคม  2534   คณะรัฐมนตรีมีมติใหรื้อสิ่งกอสรางตางๆ ในอุทยานแหงชาติเขา
                  ใหญ รวมทั้งสนามกอลฟ เพื่อการอนุรักษพื้นที่ปาและสัตวปาในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ
                         วันที่ 28 กุมภาพันธ 2535 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ใน
                  ราชกิจจานุเบกษา เลม 109 ตอนที่ 15

                         วันที่ 5 มีนาคม 2535 ไดมีการประกาศใชระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการแกไขปญหาการ
                  บุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ 2535 ในราชกิจจานุเบกษาเลม 109 ตอนที่ 17
                         วันที่  10    มีนาคม  2535   คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผลการจําแนกเขตการใชประโยชน

                  ทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ  19  จังหวัด  คือ  ลําปาง  ตาก  สุโขทัย  เพชรบุรี
                  อุดรธานี นครพนม สกลนคร มุกดาหาร เลย นครราชสีมา สระบุรี  ลพบุรี  ชลบุรี  ระยอง ประจวบคีรีขันธ
                  ชุมพร  ระนอง  สุราษฎรธานี และตรัง  โดยจําแนกเขตการใชประโยชนเปน 3 เขต  คือ ปาเพื่อการอนุรักษ
                  (C) ปาเพื่อเศรษฐกิจ (E)   และพื้นที่ปาเหมาะสมตอการเกษตร (A)
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176