Page 38 -
P. 38
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
38 38 38 การผลิตพืช
การผลิตพืช
การผลิตพืชตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการปลูกพืชผสมสาน
บทที่
บทที่
๑ ๕ เพื่อความยั่งยืน
และพอเพียง
เกษตรทฤษฎีใหม่ ๒) การตลาด เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทาน ต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียม
ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหา
พระราชดำาริ “ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็นแนวทางหรือหลักการในการ เครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและ
บริหารการจัดการที่ดินและน้ำาเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็ก ลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
๓) การเป็นอยู่ ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมี
หลักการและแนวทางสำาคัญ ความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดำารงชีวิต
เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกร เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ำาปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง
สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ ชุมชน ๔) สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการ
ต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ที่จำาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้
การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ใช้อัตราส่วน กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ เป็นเกณฑ์ กล่าวคือร้อยละ ๓๐ ส่วนแรก ๕) การศึกษา ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริม
ขุดสระน้ำา (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ำา เช่น ผักบุ้ง ผักกะเฉด ฯลฯ) การศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชน
บนสระอาจสร้างเล้าไก่และบนขอบสระน้ำาอาจปลูกไม้ยืนต้น ของชุมชนเอง
ที่ไม่ใช้น้ำามากโดยรอบได้ ร้อยละ ๓๐ ส่วนที่สอง ทำานา ร้อยละ ๓๐ ๖) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็นที่รวมในการ
ส่วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย พัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว
ไม้เพื่อเป็นเชื้อฟืน ไม้สร้างบ้าน พืชไร่ พืชผัก สมุนไพร เป็นต้น) โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความ
ร้อยละ ๑๐ สุดท้าย เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ (ทางเดิน คันดิน ร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน
กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสำาคัญ
ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสวนครัวหลังบ้าน เป็นต้น) อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดำาเนินการผ่านพ้น
อัตราส่วนดังกล่าวเป็นสูตร หรือหลักการโดยประมาณเท่านั้น ขั้นที่สองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้า
สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยู่กับ ไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือ
สภาพของพื้นที่ดิน ปริมาณน้ำาฝน และสภาพแวดล้อม เช่น แหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยใน
ในกรณีภาคใต้ที่มีฝนตกชุก หรือพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำามาเติมสระได้ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและ
ต่อเนื่อง ก็อาจลดขนาดของบ่อ หรือสระเก็บน้ำาให้เล็กลง ฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
เพื่อเก็บพื้นที่ไว้ใช้ประโยชน์อื่นต่อไปได้
ทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์ จำาเป็นต้องมีสระเก็บกักน้ำา
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการ ที่มีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยการมีแหล่งน้ำาขนาด
และได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง ใหญ่ที่สามารถเพิ่มเติมน้ำาในสระเก็บกักน้ำาให้เต็มอยู่เสมอ
คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์
ร่วมแรงร่วมใจกันดำาเนินการในด้าน ต่อไปนี้
๑) การผลิต เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต
โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหาน้ำา
และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก