Page 39 -
P. 39
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การผลิตพืชตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 39
การจัดระบบการปลูกพืช การปลูกพืชเหลื่อมฤดู (Relay Cropping) เป็นการ
การจัดระบบการปลูกพืชเป็นการจัดการปลูกพืช จัดระบบพืชโดยการปลูกพืชที่สอง ขณะที่พืชแรกยังไม่ทัน
ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และระยะเวลา ความสำาเร็จของการ ได้เก็บเกี่ยว เช่น ปลูกข้าวโพดเหลื่อมกับมันเทศ การปลูกข้าว
จัดระบบการปลูกพืชจะต้องคำานึงถึง ชนิดพืชที่ปลูก วัตถุประสงค์ เหลื่อมกับถั่วเขียวในนาธรรมชาติ เป็นต้น
ของการปลูกเพื่ออาหาร รายได้ หรืออาหารสัตว์ ความสูงของพืช
ช่วงอายุจนถึงเก็บเกี่ยว ความทนทานต่อสภาพแห้งแล้ง การช่วย การปลูกพืชแซม (Inter Cropping) คือ การปลูก
ปกคลุมดิน ชนิดของราก และการช่วยบำารุงดิน เป็นต้น โดยมีการ พืชสองชนิดหรือมากกว่าสองชนิดพร้อมกัน หรือปลูกในเวลา
จัดระบบการปลูกพืชแบบต่างๆ ได้ดังนี้ ใกล้เคียงกัน แบบแถวสลับแถว วิธีนี้ควรคำานึงถึงความสัมพันธ์
การปลูกพืชเชิงเดี่ยว (Mono Cropping) เป็นการ ของพืชในเรื่องของระบบราก ความต้องการธาตุอาหาร ศัตรู
ปลูกพืชชนิดเดียวกันติดต่อกันในพื้นที่เดียวกัน เช่น ปลูกข้าวนาปี พืช ความสูง และการเกิดร่มเงา หน้าดินส่วนใหญ่มีพืชคลุม
นาปรัง หมุนเวียนตลอดปี เป็นต้น ทำาให้ลดการชะล้างพังทลายของดิน น้ำาฝนสามารถซึมลงในดิน
ได้มากขึ้น และช่วยลดความเสี่ยงต่อความเสียหายของ
พืชหลักเนื่องจากศัตรูพืช เช่น การปลูกถั่วลิสงแซมมันสำาปะหลัง
การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop Rotation) การปลูกพืช
สองชนิดหรือมากกว่าลงบนพื้นที่เดียวกัน แต่ว่าจะปลูก การปลูกสับปะรดแซมยางพารา การปลูกถั่วระหว่างแถวข้าวโพด
ไม่พร้อมกัน มีการจัดลำาดับพืชที่ปลูกก่อนและปลูกหลัง เป็นต้น
อย่างเหมาะสม การปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกต่างชนิดติดต่อกัน
ในพื้นที่เดียวกัน เช่น ปลูกข้าวโพด 1 ฤดู และตามด้วยการ
ปลูกถั่วในฤดูถัดไปหมุนเวียนกันไป เป็นต้น