Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      40     การผลิตพืชตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


                  การปลูกพืชแบบผสม (Mixed Cropping) เป็นวิธี         การปลูกต้นไม้เป็นแนวกันไฟ  (Fire-Break)
          การปลูกพืชสองชนิดหรือมากกว่าสองชนิดในแปลงเดียวกัน    เหมาะกับพื้นที่เขตภูเขา ซึ่งมีเหตุไฟป่าในฤดูแล้งเป็นประจำา
          โดยไม่ต้องปลูกเป็นแถวเป็นแนว เป็นวิธีการปลูกแบบดั้งเดิม   เพื่อป้องกันไฟป่าไม่ให้ลามเข้ามาในแปลง โดยการถางหญ้า
          ของเกษตรกรเมื่อครั้งที่ดินยังอุดมสมบูรณ์อยู่  โดยนำาเมล็ด   ทำาแนวกันไฟ ๑-๒ เมตร และปลูกต้นไม้ที่ทนไฟเป็นแนวกันไฟ
          สองชนิดรวมกันหว่านลงในแปลง ให้พืชหลักมีจำานวนมากกว่า   เช่น ปลูกต้นแคฝรั่ง ซึ่งลำาต้นเหนียว และสามารถแตกกิ่งก้าน
          พืชรอง พืชปลูกควรมีคุณสมบัติที่เกื้อกูลกัน เช่น ช่วยลดการ  ได้ทันทีหลังถูกไฟเผาเป็นแนวกันไฟ
          ทำาลายของศัตรูพืช ทำาให้ไม่ต้องใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช เป็นต้น

                                                                     การปลูกพืชแบบราทูน (Ratoon Cropping) เป็นการ
                  การปลูกพืชแบบผสมผสานต่างระดับ (Multi-Storey   ปลูกพืชที่จะยืดระยะเวลาของการให้ผลผลิตได้มากกว่า ๑ ฤดูกาล
          Cropping) เป็นการปลูกพืชในระบบวนเกษตรคือจะมีไม้ยืนต้น  โดยไม่ต้องมีการปลูกใหม่ เช่น อ้อย สับปะรด เป็นต้น
          เป็นไม้ใช้สอยหรือไม้ผล โดยให้ลักษณะของพืชที่ปลูกนั้นแบ่งเป็น
          หลายระดับ ตามความสูงและความลึกของราก ชั้นบน (ระดับแรก)      การปลูกพืชแบบตามกัน (Sequential Cropping)
          จะเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก มีพุ่มใบไม่หนาทึบ เช่น มะพร้าว   เป็นการปลูกพืชชนิดหนึ่งในช่วงก่อนหรือหลังอีกชนิดหนึ่งเช่น
          หมาก รองลงมา (ระดับที่สอง) ก็จะเป็นต้นไม้ ที่มีใบพุ่มหนา    ปลูกข้าวโพดในฤดูฝนและปลูกถั่วในฤดูแล้ง ระบบถั่วเขียว-ข้าว
          เช่น มะม่วง รองลงมาอีก (ระดับที่สาม) ก็จะเป็นกล้วย จนถึง  เป็นต้น
          พืชผักในระดับผิวดิน และใต้ดิน การปลูกพืชแบบผสมผสาน
          ต่างระดับนี้ จะช่วยให้ธาตุอาหารในดินหมุนเวียนและถูกใช้     การปลูกพืชคลุมดิน (Cover Cropping) เป็นการปลูกพืช
          ไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดินจะถูกปกคลุมตลอด   ที่มีรากมาก รากลึก ใบแผ่แน่น และโตเร็ว เช่น หญ้าแฝก
          เวลาและได้รับอินทรียวัตถุอย่างสม่ำาเสมอ จากใบไม้ที่ร่วงหล่น     ยึดหน้าดินไว้เพื่อป้องกันการชะล้างและช่วยรักษาความชื้น

          ลดความแรงของการกระทบโดยตรงของเม็ดฝน เพราะเรือนยอด   เป็นต้น
          ของต้นไม้และไม้พืชล่างที่ขึ้นคลุมดินอยู่จะช่วยรองรับน้ำาฝน
          เป็นชั้นๆ โรคและแมลงมีน้อยลง ไม่ต้องใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช       การปลูกพืชสลับเป็นแถบ (Strip Cropping) คือ
          จึงเป็นวิธีการปรับปรุงดินที่ใช้ทำาการเกษตรได้อย่างยั่งยืน  การปลูกพืชต่างชนิดกันสลับเป็นแถบตามที่ราบหรือขวางความ
                                                              ลาดเทของพื้นที่ที่ลาดชัน เพื่อลดความรุนแรงของการไหลของน้ำา
                  การปลูกพืชพี่เลี้ยง (Nursing Crop) เหมาะสำาหรับ
          การฟื้นฟูอนุรักษ์ดินที่ถูกทำาลายจนล้านโล่งเตียน วิธีการปลูก     การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour Cropping)
          คือ นำาพืชโตเร็วมาปลูกร่วมกับพืชหลัก เพื่อให้เป็นร่มเงาพืชหลัก    คือการปลูกพืชขวางความลาดเทของพื้นที่ตามเส้นแนวระดับ

          ให้ความชุ่มชื้น  เป็นที่เกาะยึดและใบช่วยบำารุงดินและช่วย   หรือเส้นแนวขอบเนิน เพื่อจะลดความรุนแรงของการไหลของ
          เพิ่มรายได้ในระยะแรก  เช่น  การปลูกกล้วยร่วมกับไม้ผลที่   น้ำา การปลูกต้นไม้เป็นแนวระดับขวางทางลาดชัน ในเขตภูเขา
          เพิ่งปลูกใหม่ กล้วยจะช่วยบังร่มเงาให้ความชุ่มชื้นไม้ผลในฤดูแล้ง   หรือที่ที่มีความลาดชัน จะมีการปลูกไม้พุ่มขวางทางลาดชัน
          และยังให้ผล ใบ ปลี ขายเป็นรายได้ในช่วงที่ไม้ผลยังไม่มีผลผลิต  เป็นแนวระดับ โดยจะปลูกไม้พุ่มให้เป็นแนวชิดติดกันเป็นแถวคู่
                                                              ระหว่างแนวระดับก็จะปลูกพืชไร่และต้นไม้  แนวไม้พุ่ม
                  การปลูกพืชบังลม (Wind Break) โดยการนำาไม้ยืนต้น  จะช่วยดักหน้าดินที่ถูกน้ำาพัดพาลงมา และช่วยลดการพังทลาย
          โตเร็ว กิ่งก้านเหนียว แตกทรงพุ่มหนา เช่น ไม้สนประดิพัทธ์   ของหน้าดินและช่วยตรึงไนโตรเจน เช่น ถั่วมะแฮะ กระถิน
          กระถินณรงค์ สะเดา แคฝรั่ง ปลูกเป็นแนวขวางทิศทางลม   เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ช่วยรักษาความชุ่มชื้นและช่วย
          ในแปลงพืชโดยปลูกเป็นระยะๆ ห่างกันพอสมควรขึ้นอยู่กับ  เพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน
          สภาพพื้นที่ แนวพืชที่ปลูกในทิศทางขวางทางลม จะช่วยลด
          ความเสียหายจากการฉีกหักของกิ่งไม้ผลเพราะแรงลมได้ โดยเฉพาะ      การปลูกพืชตามขั้นบันได (Terracing) คือ การทำาดิน
          ช่วงที่กิ่งกำาลังติดผล ช่วยลดความเสียหายจากการล้มต้นของพืชไร่    เป็นขั้นขวางตามแนวลาดชัน เพื่อเก็บกักน้ำา ลดความเร็วของน้ำา

          ลดการคายน้ำาและการระเหยของน้ำา ลดปริมาณการใช้น้ำาของพืช    และกักแร่ธาตุที่ถูกชะล้างไว้ให้กับดิน
          ลดปริมาณน้ำาไหลบ่าหน้าดิน และป้องกันการสูญเสียหน้าดิน
          อันเนื่องมาจากลม
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45