Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                              5








                  ดินที่ความเร็วการออกแรงกระท าต่อดินมีค่าสูงในกรณีของเครื่องมือไถดินชนิดสั่น    เมื่อ

                  พิจารณาจากปัญหาการทดลองไถพรวนดินของใบมีดจอบหมุน 3 ชนิดในกระบะดิน (soil bin)

                  ใบมีดจอบหมุนญี่ปุ่นรูปตัวซี (Japanese C – shaped blade)  ใบมีดจอบหมุนยุโรปรูปตัวแอล
                  (European L – shaped blade)   และใบมีดจอบหมุนยุโรปรูปตัวซี (European C – shaped

                  blade)  การทดลองถูกท าในดินร่วนปนทรายและดินเหนียว (clay)    ผลจากการทดลอง

                  ขณะที่ใบมีดจอบหมุนท างานมีความเร็วรอบสูงคือ 150, 218, 278 และ 384 rpm (หรือ 3.30,

                  4.79, 6.11 และ 7.65 m/s)    และความเร็วการเคลื่อนที่ของชุดทดสอบ 0.034  และ 0.069
                  m/s  ค่าทอร์ก (torque) จะลดลงตามค่าความเร็วรอบหมุนที่เพิ่มมากขึ้น (ศิริศักดิ์  เชิดเกียรติ

                  พล , ธัญญา  นิยมาภา  และ วิลาส  สโลเก่, 2551)    ทั้งนี้จะเห็นว่าเป็นลักษณะเช่นเดียวกันกับ

                  เครื่องมือไถดินชนิดสั่น  คือความเร็วการออกแรงกระท าต่อดินที่มีผลต่อค่าแรงกระท าที่

                  เครื่องมือกระท าต่อดิน
                         ส าหรับการทดลองในห้องปฏิบัติการ  Kawamura  and  Umeda (1958) รายงานผล

                  การทดลองการกดดินตัวอย่าง (soil  specimen) ร่วนปนทราย   ให้เกิดการวิบัติโดยใช้การ

                  ทดสอบ  high speed uniaxial compression   ผลการทดลองพบว่าก าลังอัด (compressive
                  strength) ของดินเพิ่มขึ้นในแนวเส้นตรงตามค่าลอการิทึม (logarithm) ของค่าความเร็วการ

                  ออกแรงกระแทก (loading  ram  velocity) ด้วยความเร็วสูง จนถึงค่าสูงสุด    และหลังจาก

                  นั้นก็ลดลงในลักษณะเส้นตรงตามค่าลอการิทึมของค่าความเร็วการออกแรงกระท า     ทั้งนี้
                  ต าแหน่งความเร็วที่ก าลังอัดมีค่าสูงสุดเรียกว่าความเร็ววิกฤต (critical speed)   ค่าความเร็ว

                  วิกฤตมีค่าระหว่าง  2 – 4 m/s   Niyamapa (1991)  และ  Niyamapa,  Namikawa  and  Salokhe

                  (1992)  รายงานผลการทดลองการกดดินตัวอย่างให้เกิดการวิบัติโดยวิธีการทดสอบ  high
                  speed triaxial compression  ผลการทดลองกับดินร่วนปนทราย และดินร่วนปนทรายแป้ง

                  (silty loam) พบว่าค่าความเค้นตามแนวแกน (axial stress) ที่ท าให้ดินตัวอย่างวิบัติ  เพิ่ม

                  สูงขึ้นตามค่าความเร็วการออกแรงกระท าต่อดินตัวอย่างจนถึงค่าความเร็ววิกฤต    หลังจาก

                  นั้นค่าความเค้นก็ลดลงตามค่าความเร็วการออกแรงกระท าที่เพิ่มสูงขึ้น   ความเร็ววิกฤตมีค่า
                  1.7 – 3.6 m/s     เมื่อพิจารณาลักษณะการวิบัติของดิน   พบว่าการวิบัติดินมี 2  ลักษณะ คือ brittle

                  failure และ plastic  flow  ดินตัวอย่างที่ใช้ทดสอบมีการวิบัติแบบ brittle  failure    เมื่อ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20