Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                              2








                  สูงถึง 43.2  % (db)    เนื่องจากฟางข้าวที่พ่นลงมาในแปลงดูดความชื้นไว้มาก      จากเหตุผล

                  ดังกล่าวแสดงถึงสภาพของพืชที่ถูกเก็บเกี่ยวมีผลต่อสภาพแวดล้อมดิน

                         อีกกรณีหนึ่งที่เป็นประสบการณ์ของผู้เขียน (ศิริชัย   เหล่าเลิศวรกุล  และ  ธัญญา  นิยมาภา
                  ,2545) ได้ทดลองใช้เครื่องมือไถจอบหมุน (rotary tiller) ติดรถไถเดินตามที่ผลิต

                  ภายในประเทศ    เพื่อเตรียมดินปลูกพืชสวนครัวประเภทหอมแดงในแปลงเกษตรกร   เขต

                  อ าเภอยางชุมน้อย   จังหวัดศรีสะเกษ    ดินในแปลงชนิดดินร่วนปนทราย   ขณะทดลองความชื้น

                  ดิน 9.67 – 11.73 % (db)  ความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง 1.52 – 1.57 g/cm  ค่าความ
                                                                                     3
                  ต้านทานการแทงทะลุรูปกรวยเท่ากับ 1.67 MPa    จากข้อสังเกตสมบัติทางฟิสิกส์ของ

                  ดินส าหรับค่าที่แสดงความแข็งแรงดินคือ  ความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง และความต้านทาน

                  การแทงทะลุรูปกรวย    จะสังเกตเห็นว่าสภาพดินแปลงเกษตรกรรมในประเทศญี่ปุ่นต่างจากใน

                  ประเทศไทยมาก    ถึงแม้ว่าจะเป็นดินชนิดเดียวกัน   จากเงื่อนไขต่างๆ เหล่านี้แสดงถึง
                  สภาพแวดล้อมภายนอก     แน่นอนจากสภาพดินที่แตกต่างกันจะมีผลต่อการใช้เครื่องมือไถดิน



                  1.2 ผลของความเร็วการออกแรงกระท าต่อดินที่ความเร็วสูง
                         ขณะเครื่องมือไถพรวนดิน (tillage  machinery) ก าลังท างานในแปลงเกษตรกรรม

                  เป็นการออกแรงกระท าของเครื่องมือไถพรวนดินกระท าต่อดิน   ดังเช่นเครื่องมือไถ

                  พรวนดินประเภทถูกลากจูงโดยรถแทรกเตอร์ (passive  tillage  machinery) (Kawamura,
                  n.d.) เป็นต้นว่า   ไถดินดาน (subsoiler)   ไถหัวหมู (moldboard  plow)   ไถจานมาตรฐาน

                  (standard disk plow)   ไถสิ่ว (chisel plow)  พรวนซี่ (spike tooth harrow)  พรวนจาน (disk

                  harrow)   เครื่องมือไถดินประเภทนี้   ออกแรงกระท าต่อดินที่ความเร็วไม่สูงมาก   เช่น
                  ไถหัวหมูชนิดมาตรฐาน (conventional  moldboard  plow)   ความเร็วในการท างาน 5.3

                  km/h หรือ 1.47  m/s (Kepner et al., 1982)   ทั้งนี้ค่าแรงฉุดลากไถในแนวระดับ (draft) แปร

                                                                      2
                  ผันตามความเร็วยกก าลังสอง    ดังสมการ D s = D o + KS   และแรงฉุดลากเพิ่มตาม
                  ความเร็วที่เพิ่มมากขึ้น (Kepner et al., 1982)    ส าหรับกรณีเครื่องมือไถพรวนดินประเภทใช้

                  เพลาอ านวยก าลังขับ (active  tillage  machinery) เป็นต้นว่า    เครื่องมือไถจอบหมุนและ
                  เครื่องมือไถจานชนิดใช้ก าลังขับจากเพลาอ านวยก าลัง (PTO powered disk plow)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17