Page 14 -
P. 14
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4
ทดลองเครื่องมือไถดินชนิดสั่นในแปลงดินร่วนปนทราย การทดลองท าที่ความเร็วการ
เคลื่อนที่ของรถแทรกเตอร์ 0.33 – 0.85 m/s ช่วงกว้างการสั่นของเครื่องมือ (oscillating
amplitude) 59 และ 77 mm ความถี่การสั่นของเครื่องมือ (oscillating frequency) 8.7 –
13.9 Hz ความเร็วการสั่นสูงสุด 1.6 – 3.4 m/s ส าหรับการทดลองเงื่อนไขเครื่องมือไถดิน
ไม่สั่น (non – vibrating tillage tool) ท าที่ความเร็วรถแทรกเตอร์ 0.22 – 1.78 m/s ทดลอง
ในแปลงดินนา ความชื้นดิน 43.2 % (db) ความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง 1.03 g/cm
3
ความต้านทานการแทงทะลุรูปกรวยในดิน 467 kPa ผลการทดลองส าหรับเงื่อนไขการสั่น
พบว่าแรงฉุดลากไถในแนวระดับ (draft) เพิ่มสูงขึ้นในช่วงแรกขณะเพิ่มความเร็วการเคลื่อนที่
รถแทรกเตอร์ แต่แรงฉุดลากไถในแนวระดับก็ลดลงในช่วงเวลาต่อมา ส าหรับการ
ท างานเมื่อเครื่องมือไม่สั่นแรงฉุดลากในแนวระดับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการเพิ่มขึ้น
ของความเร็วการเคลื่อนที่ของรถแทรกเตอร์ ค่าอัตราส่วนแรงฉุดลากไถในแนวระดับ
(draft ratio) (อัตราส่วนแรงฉุดลากไถในแนวระดับ หมายถึง ค่าแรงฉุดลากไถในแนว
ระดับเมื่อเครื่องมือไถสั่น หารด้วยค่าแรงฉุดลากไถในแนวระดับเมื่อเครื่องมือไถไม่สั่น)
อยู่ในช่วง 0.63 – 0.93 นั่นคือแรงฉุดลากไถในแนวระดับลดลง 7 – 37 % เมื่อเครื่องมือสั่น
ขณะท างาน ก าลังรวม (total power) ที่ต้องการของเครื่องมือสั่นมีค่ามากกว่าเครื่องมือไม่
สั่น 41 – 45 % เมื่อสังเกตผิวหน้าดินจะเห็นว่าดินแตกตัวเนื่องจากการสั่นของเครื่องมือ
ทั้งนี้จะเห็นลักษณะการยกตัวขึ้นของก้อนดินระหว่างการสั่นของเครื่องมือและดินจะแตก
เป็นก้อนเล็ก ขณะที่จะสังเกตเห็นลักษณะการไหลของดิน (soil flow) เมื่อเครื่องมือไม่สั่น
นอกจากนี้การลดลงของค่าความหนาแน่นรวมสภาพแห้งของมวลดินขณะเครื่องมือสั่นมีค่า
มากกว่าเมื่อเครื่องมือไม่สั่น 70 – 270 % ซึ่งจะเห็นว่าเป็นตัวเลขที่ค่อนข้างสูง การที่ค่า
ความหนาแน่นรวมสภาพแห้งของมวลดินลดลงมากในขณะที่เครื่องมือสั่นด้วยความเร็ว
สูง ดินวิบัติ (soil failure) ในลักษณะแตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือฟลูอิดไดเซชัน (fluidization)
(Niyamapa, 1991) จากปัญหาเครื่องมือไถจอบหมุนและเครื่องมือไถดินชนิดสั่น เป็น
ลักษณะการออกแรงกระท าของเครื่องมือต่อดินที่ความเร็วสูง ทั้งนี้ลักษณะแรงฉุดลากใน
แนวระดับของเครื่องมือไถดินชนิดสั่น จะแตกต่างจากแรงฉุดลากในแนวระดับเมื่อ
เครื่องมือไถดินไม่สั่น ดังที่เขียนไว้ก่อนหน้านี้ ทั้งนี้เนื่องจากผลที่เกิดจากการวิบัติของ