Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





 พ.ศ. 2476  พ.ศ. 2479                           พ.ศ. 2481                            พ.ศ. 2481
 ขยายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม  ก่อตั้งโรงเรียนป่าไม้ของกรมป่าไม้ที่จังหวัดแพร่   ยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดฯ ที่แม่โจ้ เป็น “วิทยาลัยเกษตรศาสตร์”   ก่อตั้งโรงเรียนช่างชลประทาน สังกัดกรมชลประทาน
 ไปยังภาคเหนือ อีสาน และใต้  และเริ่มกิจกรรมวิ่งประเพณี 15 กิโลเมตร  จัดตั้งสถานีวิจัยเกษตรที่ทุ่งบางเขน  (พัฒนาเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในปัจจุบัน)




            รัตภูมิในปัจจุบัน) จังหวัดสงขลา และในปีต่อมา พ.ศ. 2476   เดิมหลายท่านจึงถูกโอนย้ายไปรับตำาแหน่งต่างๆ ในกระทรวง
            ได้ย้ายมาอยู่ตำาบลคอหงส์ อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดย  เกษตราธิการ อาทิ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจไปรับตำาแหน่งอธิบดี
            หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจเป็นอาจารย์ใหญ่และหัวหน้าสถานี ส่วน  กรมเกษตร หลวงอิงคศรีกสิการไปเป็นหัวหน้ากองอุตสาหกรรม
            ภาคเหนือได้ตั้งสถานีทดลองเกษตรขึ้นที่ห้วยแม่โจ้ ตำาบลหนองหาร   พืชพรรณ
            อำาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระช่วงเกษตรศิลปการ      อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2480 กระทรวงเกษตราธิการได้

            เป็นอาจารย์ใหญ่และหัวหน้าสถานีเช่นกัน                   ยุบโรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรมอื่นๆ ยกเว้นที่แม่โจ้ และ
                  การพ้นจากตำาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการของ  ให้นักเรียนที่ยังศึกษาไม่จบไปศึกษาต่อที่แม่โจ้ รวมทั้งโอนย้าย
            เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีในปี พ.ศ. 2477 เป็นชนวนให้โรงเรียน  อาจารย์ทั้งหมดไปที่แม่โจ้แห่งเดียว ด้วยเหตุนี้เอง ทั้งหลวง         51

            ฝึกหัดฯ ทั้งสามอยู่ในข่ายถูกยุบเลิก เนื่องจากรัฐบาลพยายามเร่งรัด  สุวรรณวาจกกสิกิจ หลวงอิงคศรีกสิการ และพระช่วงเกษตรศิลปการ
            งานด้านประถมศึกษาให้บรรลุตามที่แถลงไว้กับสภาฯ กระทรวง  จึงร่วมแรงกันรณรงค์เดินสายชี้แจงต่อบรรดาผู้บังคับบัญชาและ
            ธรรมการชี้แจงว่า อาจารย์กสิกรรมมีเพียงพอแล้วและสามารถใช้  ผู้มีอำานาจในประเทศให้เห็นคุณค่าความสำาคัญของโรงเรียนเกษตร
            อาจารย์มูลสอนในระดับประถมศึกษาได้ อาจารย์ใหญ่ทั้งสามจึง  รวมถึงการยกระดับให้การเกษตรเป็นการศึกษาขั้นสูงสำาหรับ
            ได้ทัดทานเนื่องจากเสียดายองค์ความรู้ด้านการผลิตอาจารย์เกษตร  ประเทศเกษตรกรรมอย่างไทย

            ที่บ่มเพาะมายาวนานถึง 17 ปี จึงต่อรองข้อเสนอว่าไม่ควรยุบเลิก     ในปี พ.ศ. 2481 ผลสัมฤทธิ์ของความอุตสาหะครั้งนั้น              72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
            ทั้งหมด ควรให้คงเหลือไว้ 1 แห่ง คือที่แม่โจ้ และขอให้เปิดหลักสูตร  โรงเรียนเกษตรที่แม่โจ้จึงได้ยกฐานะขึ้นเป็น “วิทยาลัยเกษตรศาสตร์”
            มัธยมวิสามัญเกษตรกรรมขึ้นแทนทุกภูมิภาค เพื่อผลิตคนรุ่นใหม่  โดยมีพระช่วงเกษตรศิลปการเป็นผู้อำานวยการคนแรก เปิดสอน

            ให้เป็นเกษตรกรชั้นกลางแทนการเป็นอาจารย์ หรือผลิตเกษตรกร  หลักสูตรอนุปริญญาเกษตรศาสตร์ 3 ปี และรับสมัครจากนักเรียน
            ที่มีความรู้ความสามารถเพื่อเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรทั่วไป อีกทั้ง
            หากต้องการเข้ารับราชการหรือเป็นอาจารย์ สามารถกระทำาได้โดย
            เข้าอบรมหลักสูตรวิชาอาจารย์เพิ่มอีก 1 ปีจากโรงเรียนฝึกหัดฯ
            โครงการดังกล่าวจึงเป็นจุดกำาเนิดของ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญ

            เกษตรกรรม” สังกัดกระทรวงเศรษฐการ (กระทรวงเกษตราธิการ
            เดิม) กำาหนดหลักสูตร 4 ปี รับนักเรียนที่สำาเร็จจากมัธยมศึกษา
            ปีที่ 4 โดยมีที่ตั้งอยู่ที่โรงเรียนฝึกหัดฯ เดิมทั้งสามแห่ง และก่อตั้งใหม่

            อีกหนึ่งแห่งในภาคกลางคือ โรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรม
            บางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี
                  งานราชการของกระทรวงเกษตราธิการ (เปลี่ยนชื่อกลับมา
            จากกระทรวงเศรษฐการในปี พ.ศ. 2478) เติบโตไปอย่างรวดเร็ว
            หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ส่งผลให้ขาดแคลนบุคลากร

            ข้าราชการจำานวนมาก อาจารย์ด้านเกษตรจากโรงเรียนฝึกหัดฯ                                   ภาพคณะอาจารย์ ครู และนักศึกษา (รุ่นแรก)
                                                                                           วิทยาลัยเกษตรศาสตร์แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2481
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65