Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1

                                                           พ.ศ. 2447                             พ.ศ. 2448
                                                           ก่อตั้งโรงเรียนช่างไหม กรมช่างไหม     โรงเรียนช่างไหมเปิดแผนกเพาะปลูก
                                                                                                 เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวิชาการเพาะปลูก



                  ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1




                  อรุณรุ่งแห่งเกษตรศึกษา


                   ดั่งแสงส่องพสุธาสยาม




      46

       72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
                            การศึกษาด้านการเกษตรของประเทศสยามในช่วงสมัย            การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี  พ.ศ.  2475  เป็นผลให้

                      รัชกาลที่ 5 - 7 มีรากฐานจากบรรดานักเรียนนอกหลายพระองค์   นโยบายด้านการเกษตรเน้นเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้น  มีการตั้ง
                      และหลายท่าน หนึ่งในนั้นคือพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ (โห้ กาฬดิษย์)    สถานีวิจัยและทดลองควบคู่กับโรงเรียนเกษตรฯ  ตามภูมิภาค
                      ผู้สำ เร็จการศึกษาด้านการเกษตรจากมหาวิทยาลัย  Reading    ต่างๆ “สามเสือเกษตร” อันได้แก่ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
                      ประเทศอังกฤษ  เป็นผู้ก่อตั้ง  “โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม”    พระช่วงเกษตรศิลปการ  และหลวงอิงคศรีกสิการ  จึงมีโอกาส
                      โรงเรียนต้นแบบแรกที่สอนให้ทำ เกษตรกรรมแบบ “ทำ มือ” โรงเรียน   ได้รับตำ แหน่งอาจารย์ใหญ่ตามโรงเรียนต่างๆ ในแต่ละภูมิภาค
                      แห่งนี้เป็นแหล่งผลิตนักเรียนการเกษตรที่สำ  คัญ  และเป็นศูนย์รวม      นโยบายการเกษตรและการศึกษาที่ผันผวนในอีกหลายปี
                                                                                        ้
                                                                               ่
                                                                                                                           ้
                      บัณฑิตที่จบมาจากต่างประเทศ ซึ่งในเวลาต่อมากลายมาเป็น   ตอมา ทำาใหโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมมีแนวโนมถูกยุบ
                      อาจารย์ผู้สอนที่มีบทบาทหลายท่าน  อาทิ  หลวงสุวรรณวาจก-  อาจารย์ใหญ่ทั้งสามได้เสนอว่าไม่ควรยุบเนื่องจากเสียดาย
                      กสิกิจ และหลวงอิงคศรีกสิการ                            องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่บ่มเพาะกันมา 17 ปี รัฐบาลจึงคงเหลือ
                            โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมขยายกิจการและ       โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมที่แม่โจ้  จังหวัดเชียงใหม่ไว้
                      ย้ายสถานที่เรียนไปหลายแห่ง  ตั้งแต่จังหวัดนครปฐม  จังหวัด   และในเวลาต่อมาได้ยกระดับขึ้นเป็น “วิทยาลัยเกษตรศาสตร์” การเปิด
                      ประจวบคีรีขันธ์  จังหวัดสระบุรี  หรือแม้แต่จังหวัดนครราชสีมา    สถานีวิจัยเกษตรที่ทุงบางเขนของรัฐบาลเป็นเสมือนใบเบิกทางแรก
                                                                                              ่
                      นัยหนึ่งเพื่อบุกเบิกสถานที่ศึกษาด้านการเกษตร และอีกนัยหนึ่ง   ที่ทำ  ให้อาจารย์ใหญ่ทั้งสามได้เล็งเห็นคุณค่าของการที่จะพัฒนา
                      เพื่อทำาไรสำาหรับนำาผลผลิตมาจุนเจือคาใชจายของโรงเรียน   แวดวงการศึกษาด้านการเกษตรอีกครั้ง จึงทำ เรื่องย้ายวิทยาลัย
                                                           ้ ่
                              ่
                                                        ่
                      นโยบายทางการศึกษาที่ไมแนนอนยุคนั้น  ทำาใหการศึกษา      เกษตรศาสตร์มาอยู่คู่กับสถานีวิจัยเกษตรที่ทุ่งบางเขน  จนกระทั่ง
                                                 ่
                                               ่
                                                                 ้
                      ด้านการเกษตรของประเทศสยามไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ   ยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในวันที่  2  กุมภาพันธ์
                      ตามที่ควร  ส่งผลให้คณาจารย์หลายท่านต้องถูกโอนย้ายไป  พ.ศ. 2486
                      รับราชการตามหน่วยงานต่างๆ อยู่เสมอ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60