Page 56 -
P. 56
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2448 พ.ศ. 2451 พ.ศ. 2453 พ.ศ. 2460
โรงเรียนช่างไหมเปิดแผนกเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการก่อตั้งโรงเรียน รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้จัดงานแสดงกสิกรรม ก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมหอวัง
เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวิชาการเพาะปลูก เพื่อผลิตข้าราชการของกระทรวง และพาณิชยการครั้งที่ 1 ที่วังสระปทุม (พระราชวังวินด์เซอร์)
ในห้วงเวลาที่ชาติตะวันตกกำาลังแผ่อิทธิพลมายังภูมิภาค ที่มหาวิทยาลัย Cornell ประเทศสหรัฐอเมริกา และกลับมาพัฒนา
เอเชียช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 5 “นักเรียนนอก” หลายพระองค์ งานเกษตรของประเทศ โดยเฉพาะด้านนาทดลองและสถานีทดลอง
และหลายคน สำาเร็จการศึกษาและทยอยกลับมาสู่ประเทศสยาม พันธุ์พืชต่างๆ
นักเรียนนอกเหล่านี้เป็นผลผลิตจากสายพระเนตรอันยาวไกล วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 กระทรวงเกษตราธิการ
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงพระกรุณา ได้เปิด “โรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการ” ขึ้น เพื่อมุ่งผลิตบุคลากร
โปรดเกล้าฯ ให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ ลูกหลานข้าราชการ ป้อนเข้าสู่ระบบราชการของกระทรวง หลังจากนั้นจึงได้ย้ายโรงเรียน
และนักเรียนทุน ไปศึกษาเล่าเรียนสรรพวิชาจากต่างประเทศเพื่อ วิชาการเพาะปลูกมารวมกับอีกสองโรงเรียนในสังกัดของกระทรวง
กลับมารับราชการและพัฒนาสยามให้ทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศ คือโรงเรียนแผนที่ และโรงเรียนกรมคลอง โดยจัดการเรียนการสอน 47
ยุคนั้น ขึ้นที่วังสระปทุม
ในบรรดานักเรียนนอกที่สำาเร็จการศึกษากลับมา หนึ่งในนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น
คือ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ซึ่งสำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยฝึกหัดครู
เพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม) ทรงสำาเร็จการศึกษา Borough Road ประเทศอังกฤษ ได้ขึ้นดำารงตำาแหน่งเสนาบดี
ด้านวิชาเพาะปลูกจากประเทศอังกฤษในปี พ.ศ. 2444 และเสด็จ กระทรวงธรรมการ และดำาริที่จะออกพระราชบัญญัติประถมศึกษา
กลับมาร่วมงานด้านการเลี้ยงไหม ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกราคาดีของ ให้เด็กไทยทั่วประเทศได้เข้าเรียนหนังสือ (การศึกษาภาคบังคับ) 72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
สยามยุคนั้น พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ทรงงานร่วมกับนายโทยามา แต่เกิดความกังวลว่า เมื่อเด็กจบการศึกษาจะหันมาฝักใฝ่แต่ใน
ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงไหมชาวญี่ปุ่น และทรงตั้งสถานีทดลองเลี้ยงไหม งานเสมียนหรือจับปากการับราชการเสียหมด และละทิ้งการทำางาน
ขึ้นที่ตำาบลศาลาแดง ต่อมาในปี พ.ศ. 2446 จึงยกระดับฐานะ ออกแรงหรือใช้มือทำา จึงได้ปรึกษากับพระยาเทพศาสตร์สถิตย์
หน่วยงานนี้ขึ้นเป็น “กรมช่างไหม” โดยพระองค์ทรงดำารงตำาแหน่ง
เจ้ากรม และก่อตั้ง “โรงเรียนช่างไหม” ควบคู่กันในอีก 1 ปีถัดมา เพื่อ
จัดสอนวิชาการเลี้ยงไหมขั้นสูง และผลิตพนักงานไหมทดแทน
ผู้เชี่ยวชาญจากชาวญี่ปุ่นที่ว่าจ้างมา
ในปี พ.ศ. 2448 การศึกษาด้านการเกษตรในประเทศสยาม
ถือกำาเนิดขึ้น ณ โรงเรียนช่างไหมแห่งนั้นเอง เมื่อมีการเพิ่มหลักสูตร
ด้านการเพาะปลูกในการเรียนการสอน และได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียน
เป็น “โรงเรียนวิชาการเพาะปลูก” เพื่อขยายงานสอนให้ครอบคลุม
ไปถึงด้านการเกษตร ทว่าในความเป็นจริงยังมิได้มีการสอนด้าน
หลักกสิกรรมอย่างจริงจัง เพราะมีเพียงการสอนเรื่องการทำาไหม แต่
กระนั้นยังมีศิษย์เก่าที่สำาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนี้ ได้ไปศึกษาต่อ
ด้านการเกษตรโดยตรงในต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น พระยาโภชากร
(ตรี มิลินทสูต) ผู้จบจากโรงเรียนวิชาการเพาะปลูกและไปศึกษาต่อ ภาพนักเรียนหลักสูตรประโยคครูประถมกสิกรรม (ป.ป.ก.) รุ่นแรกสวนหลวง (หอวัง) ปี พ.ศ. 2460