Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2461 พ.ศ. 2466 พ.ศ. 2467 พ.ศ. 2471
ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมหอวัง นายอินทรี จันทรสถิตย์ มหาบัณฑิตด้านการเกษตร ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมพระประโทณ ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมบางสะพานใหญ่
ไปอยู่ที่พระประโทณ จังหวัดนครปฐม คนแรกของสยามสำาเร็จการศึกษากลับมาจากสหรัฐฯ ไปอยู่ที่บางสะพานใหญ่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ไปอยู่ที่ทับกวาง จังหวัดสระบุรี
(โห้ กาฬดิษย์) นักเรียนนอกอีกคนที่สำาเร็จการศึกษาด้านการเกษตร สหรัฐอเมริกา สหรัฐฯ จึงมีบทบาทสำาคัญในฐานะผู้วางรากฐาน
จากมหาวิทยาลัย Reading ประเทศอังกฤษ และเห็นสมควรบรรจุ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ นักเรียนไทยยุคนั้นจึงนิยมไปศึกษา
วิชาการเพาะปลูกเบื้องต้นลงในหลักสูตร เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ ต่อที่ประเทศฟิลิปปินส์เป็นจำานวนมาก ในปี พ.ศ. 2466 นายอินทรี
การทำาสวนหรือทำางานโดยใช้มือ จันทรสถิตย์ ผู้สำาเร็จการศึกษาปริญญาตรีด้านการเกษตรจาก
แต่อุปสรรคขณะนั้นคือ ยังไม่มีอาจารย์ที่สามารถสอนวิชา University of the Philippines Los Banõs ประเทศฟิลิปปินส์
ดังกล่าวได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างรากฐาน ในวันที่ 17 พฤษภาคม และสำาเร็จการศึกษาปริญญาโทจากมหาวิทยาลัย Cornell ประเทศ
พ.ศ. 2460 จึงได้ก่อตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม” แห่งแรก สหรัฐอเมริกา ได้กลับมาบรรจุเป็นอาจารย์ที่โรงเรียนฝึกหัดครูประถม
ณ บริเวณบ้านสวนหลวง วังสระปทุม หรือที่นิยมเรียกกันว่าหอวัง กสิกรรม และอีกปีถัดมา นายทองดี เรศานนท์ ที่สำาเร็จการศึกษาจาก 49
หรือวังใหม่ ตั้งอยู่บริเวณสนามกีฬาแห่งชาติในปัจจุบัน โรงเรียนแห่งนี้ University of the Philippines Los Banõs เช่นกัน ได้กลับมา
รับนักเรียนโดยระบบคัดเลือกจาก 19 มณฑล (สมัยที่ยังปกครองด้วย เป็นอาจารย์ที่โรงเรียนแห่งนี้ดังเดิม
ระบบเทศาภิบาล) นักเรียนรุ่นแรกหลักสูตรประโยคครูประถมกสิกรรม ด้วยวิสัยทัศน์ของพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ที่ต้องการขยาย
(ป.ป.ก.) มีทั้งหมด 26 คน โดยมีพระยาเทพศาสตร์สถิตย์เป็น งานการศึกษาด้านการเกษตรไปยังภูมิภาค ในเทอมต้นปี พ.ศ. 2467
อาจารย์ใหญ่และสอนวิชากสิกรรม นายทองดี เรศานนท์ (หลวงสุวรรณ นั้นเอง นักเรียนชั้นปีที่ 2 กว่า 20 ชีวิตและอาจารย์เดินทางโดยรถไฟ
วาจกกสิกิจ) และนายผล สินธุระเวชญ์ (หลวงผลสัมฤทธิ์กสิกรรม) สายใต้จากบางกอกน้อยไปยังบางสะพานใหญ่ อำาเภอบางสะพาน 72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
เป็นอาจารย์ผู้ช่วย สอนวิชาภาษาไทยและคำานวณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พร้อมกับเครื่องมือไถปราบและเครื่อง
เหตุการณ์นำ้าท่วมใหญ่กรุงเทพฯ ปี พ.ศ. 2460 หลังจากตั้ง ดำารงชีพจำานวนหนึ่ง เพื่อไปตระเตรียมสถานที่สำาหรับขยายงาน
โรงเรียนได้ไม่นาน และความต้องการให้มีบริเวณพื้นที่กว้างขวางขึ้น โรงเรียนฝึกหัดฯ แห่งใหม่ ซึ่งตั้งอยู่บนเนินริมทะเลเพียง 15 เส้น และ
เพื่อประกอบการเกษตร จึงเป็นหนึ่งในสาเหตุที่พระยาเทพศาสตร์- ห่างจากฟาร์มบางเบิดของหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร บิดาแห่ง
สถิตย์ตัดสินใจย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมไปยังตำาบล การเกษตรยุคใหม่ของสยามประมาณ 30 กิโลเมตร ระหว่างนั้น
พระประโทณ (สะกดตามแบบเก่า) จังหวัดนครปฐม ซึ่งอาศัยที่ดิน บรรดานักเรียนและอาจารย์จึงมีโอกาสรับเสด็จหม่อมเจ้าสิทธิพร
ของวัดพระประโทณเป็นที่ตั้ง มีบันทึกว่าทั้งอาจารย์ใหญ่ อาจารย์ อยู่บ่อยๆ และได้เรียนรู้การทำาเกษตรสมัยใหม่จากพระองค์มากมาย
ผู้ช่วย และนักเรียนต้องช่วยกันบุกเบิกถางป่าด้วยตนเองเพื่อใช้เป็น ปีเดียวกันนี้เอง นายช่วง โลจายะ ได้สำาเร็จการศึกษาปริญญาโท
สถานที่ตั้งของแปลงเกษตร เรือนพัก และห้องเรียนใหม่ จนกระทั่งปี ด้านการเกษตรจากมหาวิทยาลัย Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2463 นายทองดี เรศานนท์ และนายผล สินธุระเวชญ์ อาจารย์ และมาบรรจุเป็นอาจารย์ที่บางสะพานใหญ่ นายช่วงยังเป็นผู้ริเริ่ม
ผู้ช่วย ได้รับโอกาสไปศึกษาต่อด้านการเกษตรที่ประเทศฟิลิปปินส์ การออกวารสารด้านกสิกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน จนเป็น
ซึ่งเป็นช่วงที่นายชุน อ่องระเบียบ (หลวงชุณหกสิการ) สำาเร็จ ที่มาของหนังสือพิมพ์ “กสิกร” โดยหม่อมเจ้าสิทธิพรเป็นเจ้าของและ
การศึกษาด้านการเกษตรจากมหาวิทยาลัย Reading ประเทศ บรรณาธิการ ส่วนบรรดาอาจารย์ของโรงเรียนเป็นกองบรรณาธิการ
อังกฤษ และนายผาย เทพสิทธา (ขุนกสิกรพิศาล) ศิษย์เก่าโรงเรียน ในปี พ.ศ. 2468 โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม
ฝึกหัดครูประถมกสิกรรมรุ่นก่อนหน้า กลับมาเป็นอาจารย์ผู้ช่วยแทน บางสะพานใหญ่มีการตั้งแผนกฝึกหัดอาจารย์มูลกสิกรรมขึ้น
ในยุคนั้น ประเทศฟิลิปปินส์ยังตกเป็นอาณานิคมของประเทศ เพื่อผลิตอาจารย์ตามโรงเรียนประชาบาล เพื่อขยายงานไปตาม