Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1

                                                           พ.ศ. 2472                             พ.ศ. 2476
                                                           พระยาเทพศาสตร์สถิตย์ถึงแก่อนิจกรรม    ขยายโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม
                                                           หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจรับตำาแหน่งอาจารย์ใหญ่แทน  ไปยังภาคเหนือ อีสาน และใต้




                          ท้องถิ่นมากขึ้น ขณะนั้นกระทรวงธรรมการได้ตั้งแผนกมัธยม  นายทองดี เรศานนท์ ซึ่งขณะนั้นได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
                          เกษตรกรรมด้วย เพื่อรับผู้ที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 7 และ 8 มาอบรม  “หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ” เท่านั้น ที่ยังคงอยู่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลัก
                          วิชาการเกษตร (ยุบไปในปี พ.ศ. 2470 เพราะไม่มีผู้สมัครเรียน)   มาตั้งแต่ครั้งโรงเรียนเพิ่งก่อตั้ง  อย่างไรก็ตาม  ในยุคนี้นายจรัด  สุนทรสิงห์
                          ปีต่อมาใน พ.ศ. 2469 โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมได้เปลี่ยน  และนายผาย เทพสิทธา บัณฑิตจาก University of the Philippines
                          ชื่อเป็นโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์มูลกสิกรรมประจำามณฑลนครชัยศรี  Los Banõs ประเทศฟิลิปปินส์ ได้สำาเร็จการศึกษากลับมาบรรจุเป็น

                                สภาพเศรษฐกิจตกตำ่าหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลกระทบ  อาจารย์ที่โรงเรียนฝึกหัดฯ ทับกวางร่วมกับอาจารย์ซึ่งเป็นศิษย์เก่า
                          ต่อระบบราชการเป็นวงกว้าง โรงเรียนขาดแคลนงบประมาณ  อีก 5 คน
      50
                          อย่างหนัก พระยาเทพศาสตร์สถิตย์จึงดำาริแยกนักเรียนจากโรงเรียน     ในช่วงที่พระยาเทพศาสตร์สถิตย์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียน
                          ฝึกหัดครูประถมกสิกรรมปีที่ 2 จากบางสะพานใหญ่ ไปตั้งเป็น  ฝึกหัดครูประถมกสิกรรมที่ทับกวางเดินทางขึ้น - ลงกรุงเทพฯ เพื่อ
       72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
                          โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมที่ตำาบลทับกวาง อำาเภอแก่งคอย   หาตลาดสำาหรับส่งพืชผัก หรือถูกเรียกตัวเข้ากระทรวงฯ จนแทบ
                          จังหวัดสระบุรี อีกแห่งหนึ่ง เพื่อมุ่งฝึกฝนนักเรียนปลูกพืชไร่และ  ไม่มีเวลาอยู่โรงเรียน วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 โทรเลขแจ้ง
                          เลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ และอีกนัยหนึ่งคือต้องการสร้างรายได้จากการ  ข่าวร้ายจากกรุงเทพฯ มาถึงศิษย์และอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครู
                          ทำาการเกษตรและขายผลผลิต เพื่อจุนเจือโรงเรียนที่กำาลังวิกฤติ  ประถมกสิกรรมทับกวาง ความว่า พระยาเทพศาสตร์สถิตย์ได้ถึงแก่

                          เพราะขาดแคลนงบประมาณ กลางเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469   อนิจกรรมด้วยโรคเนื้องอกในกระเพาะอาหารหลังพักรักษาตัวอยู่นาน
                          นักเรียนชั้นปีที่ 2 จากบางสะพานใหญ่ประมาณ 10 คน ได้เดินทาง  ท่ามกลางความโศกเศร้าอาดูรของศิษย์และอาจารย์ โรงเรียน
                          โดยรถไฟไปยังชายป่าดงพญาไฟเพื่อถางป่าเช่นเดียวกับที่  จึงหยุดเรียนเพื่อไว้อาลัย 1 วัน ในเวลาต่อมากระทรวงธรรมการ

                          บางสะพานใหญ่ เพื่อสร้างโรงอาหาร เรือนนอน และแปลงเกษตร   จึงแต่งตั้งหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจขึ้นทำาหน้าที่อาจารย์ใหญ่แทน
                          จนเกิดเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมทับกวางขึ้นมา         ในปี พ.ศ. 2475 ประเทศสยามเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบอบ
                                ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 7 การเมืองเต็มไปด้วยความผันผวน  ประชาธิปไตย พร้อมกับการกลับเข้ามาดำารงตำาแหน่งรัฐมนตรี
                          และมีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2469 เจ้าพระยา  ว่าการกระทรวงธรรมการของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีอีกวาระ
                          ธรรมศักดิ์มนตรีซึ่งดำารงตำาแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้  หนึ่ง ส่วนหม่อมเจ้าสิทธิพรได้ดำารงตำาแหน่งอธิบดีกรมตรวจกสิกรรม

                          ตัดสินใจกราบบังคมทูลลาออกจากราชการ เพื่อรับบำาเหน็จบำานาญ   หรือกรมเกษตร หม่อมเจ้าสิทธิพรได้เล็งเห็นว่า การเกษตรควรมี
                          ส่งผลให้นโยบายด้านการศึกษาของสยามเปลี่ยนแปลงไปด้วย ต่อมา  การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ระหว่างนั้นจึงมีนโยบายตั้งสถานี
                          ในปี พ.ศ. 2470 โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมที่บางสะพานใหญ่  ทดลองเกษตรขึ้นตามภูมิภาคต่างๆ คือ ภาคเหนือ ภาคอีสาน และ

                          ถูกยุบและโอนย้าย นักเรียนทั้งหมดโอนไปยังโรงเรียนฝึกหัดครู  ภาคใต้ และต้องการให้โรงเรียนฝึกหัดฯ อยู่ร่วมกับสถานีทดลอง
                          ประถมกสิกรรมที่ทับกวาง  ส่วนอาจารย์หลายท่านทั้งนายช่วง  โลจายะ   เกษตร เพื่อฝึกปฏิบัติงานร่วมกัน ดังนั้นโรงเรียนฝึกหัดฯ ทับกวาง จึง
                          (พระช่วงเกษตรศิลปการ) นายผล สินธุระเวชญ์ (หลวงผลสัมฤทธิ์-  ได้ย้ายไปที่ตำาบลโนนวัด (ปัจจุบันคือโนนสูง) อำาเภอโนนสูง จังหวัด
                          กสิกรรม) นายชุน อ่องระเบียบ (หลวงชุณหกสิการ) และนายอินทรี    นครราชสีมา  และมอบหมายให้หลวงอิงคศรีกสิการเป็นทั้งอาจารย์ใหญ่
                          จันทรสถิตย์ (หลวงอิงคศรีกสิการ) ได้ย้ายไปประจำากระทรวงอื่น   และหัวหน้าสถานีทดลอง สำาหรับภาคใต้ได้ตั้งสถานีทดลองเกษตร

                          หรือเป็นอาจารย์สอนตามโรงเรียนสามัญต่างๆ คงเหลือแต่เพียง  และโรงเรียนฝึกหัดฯ ที่ตำาบลควนเนียง อำาเภอกำาแพงเพชร (อำาเภอ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64