Page 65 -
P. 65
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
หรือ “…ข้าราชการผู้หนึ่งพาลูกมาสมัครเป็นนักเรียน มาถามหาท่านเจ้าคุณ
อาจารย์ใหญ่ มีคนชี้บอกว ่ าท ่ านกำาลังขุดดินปลูกขนุนอยู่กับนักเรียน
ข้าราชการผู้นั้นแรกๆ ไม่ยอมเชื่อ...เจ้าคุณอาจารย์ใหญ่กลับหัวเราะชอบใจ
ที่คนเห็นท่านเป็นชาวกสิกรจริงๆ...”
ที่บางสะพานใหญ่ หลวงสุวรรณฯ ได้รับตำาแหน่ง “อาจารย์หมอ”
กิตติมศักดิ์ “…ชาวประมงถูกปลาดุกทะเลยักเอา ตรงที่ถูกยักจะเป็นตะมอย
ปวดอย่างสาหัส โดยมากเป็นที่นิ้ว อาจารย์ทองดีจะเรียกมาผ่าให้
56 (ใช้เครื่องมือตอนไก่) ภายหลังใครเป็นตะมอยก็มาหา ทั้งบางสะพานใหญ่
เรียกอาจารย์ทองดีว่า อาจารย์หมอ...”
72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
ที่มาของหนังสือพิมพ์ “กสิกร” “…อาจารย์ช่วงเป็นต้นคิดจะออกหนังสือ
เผยแพร่ความรู้ทางกสิกรรมแก่ประชาชน แบบเดียวกับวารสารของอเมริกา
ฉบับหนึ่งชื่อ Country Gentleman ราคาเล่มละ 5 เซ็นต์ ซึ่งกสิกร
ภาพพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ (โห้ กาฬดิษย์) ถ่ายที่บ้านพักในโรงเรียนฝึกหัดครูฯ ชั้นธรรมดาของอเมริกานิยมอ่านมาก...”
(ป.ป.ก.) พระประโทณ พ.ศ. 2462 บุคคลในภาพคือ (ซ้าย) พระยาศิริชัยบุรินทร์ การบุกเบิกป่าทับกวางที่เต็มไปด้วยอุปสรรค “…ยุงชุมกว่าบางสะพาน-
เจ้าเมืองนครปฐม (ขวา-หัวเราะ) พระยาเทพศาสตร์สถิตย์
ใหญ่มาก ควายของชาวบ้านต้องทำ มุ้งให้ วันหนึ่งนักเรียนกำ ลังอาบนำ้าอยู่
ได้ยินอู้มาจากทางด้านดงพญาเย็น เสียงเหมือนฝนตก ที่ไหนได้ฝูงยุงต่างหาก
โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมในความทรงจำ มาเป็นก้อนดำ มืดทีเดียว...”
เรื่องราวของโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม ทั้งที่สวนหลวง หรือโรคประจำ ตัวของนักเรียนที่ทับกวาง “…ทับกวางเป็นแดนมาลาเรีย
พระประโทณ บางสะพานใหญ่ ทับกวาง และโนนวัด เคยมีบันทึกเป็นตอนๆ ไว้ใน พวกเราเป็นมาลาเรียกันทุกคน มากน้อยแล้วแต่พลภาพของแต่ละคน ผลของ
หนังสือที่ระลึกวันคล้ายวันเกิดครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์พิเศษ อินทรี มาลาเรีย โรงเรียนต้องส่งนักเรียนที่ป่วยมากๆ ไปรักษาที่โรงพยาบาล
จันทรสถิตย์ บทความทั้งหมดนั้นบรรยายถึงบรรยากาศการเรียนการสอน ศิริราชปีละ 3 - 4 คน ส่งโดยทางรถไฟ...”
ในยุคนั้น เช่น ลักษณะโรงเรียนฝึกหัดฯ หอวัง “…โรงเรียนเป็นเรือนไม้สัก เรื่องตลกร้ายในมื้ออาหาร “…นักเรียนทุกรุ่นจะถูกสอนให้รู้คุณค่าทาง
2 ชั้น สองหลังเรียงกัน ชั้นบนสำ หรับนอน มี 3 คูหา 6 หน้าต่าง ข้างล่าง อาหารอันวิเศษของกะหล่ำ ปลีและมะเขือเทศ โดยกับข้าวแทบทุกมื้อจะบรรจุ
มีพื้นแต่ไม่ตีฝา เป็นที่กินข้าวและเรียน สูงจากดิน 60 เซนติเมตร…” หรือ “… ทั้งสองอย่างนี้เข้าเมนูไว้ แกงกะหล่ำ ปลี ผัดมะเขือเทศ หรือแกงมะเขือเทศ
ด้านหน้าโรงเรียนเป็นสนามตั้งวงตะกร้อได้ 3 วง ข้างๆ เป็นบ้านภารโรงและ ผัดกะหล่ำ ปลี วนเวียนกันอยู่เช่นนี้...มีคนหนึ่งเขียนรูปการ์ตูนแสดงใบหน้า
เด็กในอุปการะของอาจารย์ใหญ่ ด้านหลังโรงเรียนเป็นที่ว่างสำ หรับทำ การ อันแท้จริงของนักเรียน ป.ป.ก. คือหน้าเป็นกะหล่ำ ปลี ตาเป็นมะเขือเทศ...”
กสิกรรม เลยไปเป็นบ้านเก่าๆ อาจารย์ทองดีและอาจารย์ผลอยู่ด้วยกัน ไม่มี คุณภาพดินที่โนนวัดแย่มาก “…นักเรียนก็ดี เจ้าหน้าที่เกษตรก็ดี ได้ต่อสู้กับ
ไฟฟ้า ใช้ตะเกียง ท่านเงินเดือน 80 บาททั้งคู่ ที่โรงเรียนมีไฟฟ้าแต่ไม่มีประปา...” ความยากลำ บากด้านการเกษตรให้เกิดความสามารถจะได้เป็นคนเก่ง เพราะ
หรือการฝึกงานกสิกรรมที่หอวัง “...ย่ำ รุ่งลงงาน ลอกท้องร่อง ถางหญ้า ถ้าไปทำ ในที่ดินดี นำ้าดี อะไรก็ดี ทำ การเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์อะไรต่อไป มันก็ง่าย
ขุดดิน ดินเหนียวมาก อาจารย์ใหญ่เอาสองเขาขุดงัด ตากแดดแล้วแก้ตาม ไปหมดได้ผลดีไปหมด...จะไม่ได้คนเก่งและทั้งจะไม่เป็นการช่วยชาวบ้านด้วย...”
หลักวิชา สอนการปลูกพืช ปลูกพริก มะเขือ และอ้อย…” หรือแม้แต่ปีสุดท้ายเมื่อมีข่าวว่าโรงเรียนฝึกหัดฯ ทั้งหมดจะยุบรวมไปอยู่
การบุกเบิกที่ดินที่พระประโทณ “…ถางป่าเป็นการใหญ่ ท่านอาจารย์ใหญ่ ที่แม่โจ้แห่งเดียว “…ใจหาย ท่านอาจารย์ใหญ่หลวงอิงคฯ ย้ายเข้ากรมเกษตร
เป็นหัวหน้าและแสดงการบุกเบิก ตอสะแกรากลึกใช้แม่แรงช่วย กอไผ่ถางออก และการประมง...บรรดาอาจารย์ต่างก็เตรียมตัว เตรียมข้าวของเพื่ออพยพ
มาตากแดดพอแห้งก็เอาไฟจุด บางทีถางมากองเอานำ้ามันก๊าดราดเอาไฟจุดทั้ง ไปอยู่เชียงใหม่เมื่อสิ้นปี ดุจเคยอพยพมาแล้วจากหอวัง ไปพระประโทณ ไป
สดๆ อาจารย์ใหญ่จะคุมอยู่จนกระทั่งไฟมอดจึงจะยอมกลับที่พัก...แรกๆ บางสะพานใหญ่ และไปทับกวาง มาโนนวัด แต่คราวนี้ย้ายไปเสียสุดกู่เลย...
ชาวบ้านคิดว่าพวกเราเป็นนักโทษและโรงเรียนเป็นโรงเรียนดัดสันดาน...” มันเงียบวังเวงจริงๆ...”