Page 67 -
P. 67
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ทางด้านการเกษตรในฟาร์มบางเบิดไปสู่ประชาชน โดยพระองค์เป็นบรรณาธิการ
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร หม่อมศรีพรหมา พระชายา และคณะอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดฯ บางสะพาน
ประสูติเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2426 เป็นกองบรรณาธิการ
เป็นพระโอรสองค์ที่ 4 ของพระเจ้า- หม่อมเจ้าสิทธิพรทรงกลับมารับราชการอีกครั้งในปี พ.ศ. 2474 ในตำ แหน่ง
บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร อธิบดีกรมตรวจกสิกรรมเพื่อนำ ความรู้จากการพัฒนาฟาร์มบางเบิดมาแก้ไข
กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ ปัญหาข้าวราคาตกต่ำ ขณะนั้น พระองค์เสนอว่าควรจัดตั้งสถานีทดลองเกษตร
หม่อมเจ้าสิทธิพรถูกส่งตัวไปเข้ารับ ขึ้นตามภูมิภาคต่างๆ จึงเป็นอานิสงส์ให้โรงเรียนฝึกหัดฯ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่ทับกวาง
การศึกษาที่ประเทศอังกฤษตั้งแต่ จังหวัดสระบุรี ได้รับการขยายงานไปที่โนนวัด อำ เภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
ระดับประถมศึกษาถึงอุดมศึกษา ที่แม่โจ้ อำ เภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และที่คอหงส์ อำ เภอหาดใหญ่ จังหวัด
ทั้งที่ Harrow School และ City and สงขลา และเป็นจุดกำ เนิดของ “สามเสือเกษตร” อันได้แก่ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
Guilds Technical College ในสาขา พระช่วงเกษตรศิลปการ และหลวงอิงคศรีกสิการ เนื่องจากทั้งสามท่านได้เข้ารับ
วิศวกรรมศาสตร์ ตำ แหน่งเป็นอาจารย์ใหญ่ในโรงเรียนทั้งสามแห่ง
58
พระองค์เสด็จกลับสยามในปี พ.ศ. ระหว่างปี พ.ศ. 2476 - 2487 หม่อมเจ้าสิทธิพรทรงต้องโทษจำ ขังที่บางขวาง
2444 ทรงประกอบธุรกิจโรงงาน เกาะเต่า และเกาะตะรุเตา เนื่องด้วยคดีกบฏบวรเดช โดยฟาร์มบางเบิดยังคงดำ เนิน
72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร (ชันษา 80 ปี) ปูนขาวของครอบครัวที่จังหวัดสระบุรี งานต่อไปด้วยความสามารถของหม่อมศรีพรหมา พระองค์ยังคงให้คำ แนะนำ การ
ระยะหนึ่ง จนเข้ารับราชการเป็น ทำ เกษตรผ่านทางจดหมาย และใช้เวลาในที่คุมขังสอนนักโทษให้รู้จักการทำ เกษตร
เลขานุการของที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศ และย้ายมากระทรวงการคลัง อีกทั้งยังนิพนธ์ตำ ราทางการเกษตรสมัยใหม่เล่มแรกของไทยชื่อว่า “กสิกรรม
ในตำ แหน่งผู้ช่วยอธิบดีกรมฝิ่นในปี พ.ศ. 2453 เนื่องจากมีความสามารถด้าน บนดอน” โดยทรงขยายความท้ายชื่อหนังสือว่า หลักวิทยาศาสตร์และคำ แนะนำ
เครื่องจักรกล ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 ได้ดำ รงตำ แหน่งอธิบดีกรมกษาปณ์สิทธิการ สำ หรับทำ จริง ประกอบด้วยความรู้ที่จำ เป็นต่างๆ เกี่ยวกับการทำ ไร่นาผสม
เพื่อปรับปรุงเครื่องทำ เหรียญกษาปณ์ และกลับมาเป็นอธิบดีกรมฝิ่นในปี พ.ศ. 2458 พระองค์พ้นโทษในปี พ.ศ. 2487 หลังการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ในปี พ.ศ. 2464 ด้วยชันษาเพียง 38 ปี พระองค์ทรงกราบบังคมทูลลา เพียงปีเดียว และทรงกลับไปใช้ชีวิตที่ฟาร์มบางเบิดเช่นเคย ในปี พ.ศ. 2491 รัฐบาล
ออกจากราชการ และไปตั้งรกรากที่บ้านบางเบิด อำาเภอบางสะพานน้อย จังหวัด นายควง อภัยวงศ์ ทูลขอให้พระองค์ดำารงตำาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ประจวบคีรีขันธ์ เนื่องจากไม่ชอบงานนั่งโต๊ะ และมองการณ์ไกลว่าอาชีพราชการ เกษตราธิการ ขณะเดียวกันพระองค์ได้ทรงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
ไม่มีตำาแหน่งพอสำาหรับคนรุ่นใหม่ ด้วยความที่สนใจงานด้านเกษตรกรรมมาตั้งแต่ ราษฎร และชนะคะแนนเป็น ส.ส.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วยคะแนนท่วมท้น
สมัยยังดำารงตำาแหน่งเลขานุการที่กระทรวงการต่างประเทศ พระองค์ขวนขวาย ในช่วงเวลาระหว่าง ปี พ.ศ. 2490 - 2491 ที่พระองค์ทรงดำารงตำาแหน่งรัฐมนตรี
ศึกษาวิชาการเกษตรแผนใหม่ด้วยพระองค์เอง และทดลองเลี้ยงไก่ที่มีคนนำามาถวาย ว่าการกระทรวงเกษตราธิการ ทรงดำารงตำาแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย
จนได้ผลดี พระองค์ทรงหมายมั่นว่าจะลงมือทำาการเกษตรด้วยพระองค์เอง เกษตรศาสตร์ตามเงื่อนไขของรัฐบาลยุคนั้นด้วย
เพื่อเลี้ยงชีพครอบครัว และเป็นแบบอย่างของ “กสิกรชั้นกลาง” ในปี พ.ศ. 2503 พระองค์ทรงขายฟาร์มบางเบิดให้แก่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
พื้นที่รกร้างที่บ้านบางเบิดจึงแปรสภาพเป็นฟาร์มบางเบิดตามหลัก หลังจากที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตอบปฏิเสธไม่รับซื้อไว้เป็นสถานีทดลอง
เกษตรกรรมสมัยใหม่ มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และเครื่อง เพราะไม่มีงบประมาณ พระองค์ทรงย้ายไปที่อำ เภอหัวหินและแสวงหาที่ดินขนาดย่อม
จักรกล มีการเก็บสถิติและวิเคราะห์ผลแบบวิทยาศาสตร์ และนำ พืชหรือสัตว์จาก เพื่อทดลองเกษตรต่อไป ในปี พ.ศ. 2510 หลังจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ต่างประเทศมาทดลองปลูกและเลี้ยงในบริเวณฟาร์ม จนสามารถพัฒนาสายพันธุ์ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขากสิกรรมและสัตวบาล แก่พระองค์
กลายเป็นผลผลิตที่มีชื่อเสียงของฟาร์ม เช่น แตงโม ข้าวโพด ยาสูบ หมู หรือไก่ ในเดือนกรกฎาคม พระองค์ทรงได้รับรางวัลแมกไซไซ ด้านบริการสาธารณะ
ในสมัยที่ “โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม” ย้ายไปตั้งอยู่ที่บางสะพาน สาขาพัฒนาการเกษตรแผนใหม่ ในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2510
ห่างจากฟาร์มบางเบิดไม่ไกลนัก “ทั้งบ้านและไร่นา” ของพระองค์จึงมีโอกาสได้ แม้จะไม่ได้ทรงงานในราชการมากนักเนื่องจากความผันผวนทางการเมือง
ต้อนรับคณะนักเรียนและอาจารย์บ่อยครั้ง บันทึกหนึ่งเล่าว่า นักเรียนและอาจารย์ ยุคหลัง ในปี พ.ศ. 2512 พระองค์ทรงก่อตั้งพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา เพื่อ
จากโรงเรียนฝึกหัดฯ จะพากันขี่ม้าไปเยือนฟาร์มบางเบิดในวันเสาร์ (เลิกเรียน รวบรวมนักวิชาการร่วมอุดมการณ์เพื่อใช้การเมืองช่วยเหลือเกษตรกร
ครึ่งวัน) โดยใช้เส้นทางรางรถไฟ พอไปถึงฟาร์มบางเบิดก็จวนค่ำ จึงค้างแรมกัน หม่อมเจ้าสิทธิพรได้รับการขนานนามว่า “เจ้าชายนักเกษตร” ตลอดชีวิตของ
ที่นั่น 1 คืน และกลับตอนรุ่งเช้า ขณะเดียวกันหม่อมเจ้าสิทธิพรได้เสด็จมาเยือน พระองค์ทรงเป็นนักคิด นักทดลอง เกษตรกร และผู้เห็นความสำ คัญของเกษตรกร
โรงเรียนฝึกหัดฯ บ่อยครั้งเช่นกัน สามัญ พระองค์พัฒนาฟาร์มบางเบิดด้วยแบบแผนเกษตรกรรมสมัยใหม่โดยไม่ได้รับ
ในปี พ.ศ. 2470 ด้วยความร่วมมือจากคณะอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดฯ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล จนเป็นผลประจักษ์อุดมการณ์อันแน่วแน่ของพระองค์
บางสะพาน พระองค์จึงทรงออกหนังสือพิมพ์ “กสิกร” เพื่อเผยแพร่ความรู้ พระองค์ทรงสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514 สิริชันษา 88 ปี