Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2488
ประสาทอนุปริญญาบัณฑิตรุ่นที่ 1 จัดตั้งองค์การนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำาระบบหน่วยกิตมาใช้
(นิสิตที่เรียนตั้งแต่สมัยเป็นวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
ในช่วงที่จอมพล ป. พิบูลสงครามดำารงตำาแหน่งนายก-
รัฐมนตรี มหาสงครามเอเชียบูรพา หรือสงครามโลกครั้งที่ 2 กำาลัง
อยู่ในภาวะใกล้จะสิ้นสุดลง ฝ่ายอักษะในยุโรปนำาโดยเยอรมนีและ
ญี่ปุ่นในฝั่งเอเชียตกเป็นฝ่ายปราชัย ทั่วโลกขณะนั้นบอบชำ้าด้วย
วิกฤติข้าวยากหมากแพงและขาดแคลนอาหาร ไม่ต่างจากเมื่อ
ครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 จอมพล ป. พิบูลสงคราม เล็งเห็น
ความสำาคัญของการเกษตร จึงสนับสนุนให้ประชาชนพึ่งพาตนเอง
โดยแบ่งเวลามาทำาสวนครัวหลังบ้านและเลี้ยงไก่เป็นอาหาร นโยบาย 63
ดังกล่าวสอดคล้องกับปณิธานของ “สามเสือเกษตร” อันได้แก่ หลวง
สุวรรณวาจกกสิกิจ พระช่วงเกษตรศิลปการ และหลวงอิงคศรีกสิการ
จนเป็นจุดกำาเนิดให้เกิดการผลักดัน “วิทยาลัยเกษตรศาสตร์” เรือนเขียว
ซึ่งย้ายจากแม่โจ้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 รวมเข้ากับโรงเรียนวนศาสตร์
ของกรมป่าไม้ที่จังหวัดแพร่ (ตั้งในปี พ.ศ. 2479) เพื่อก่อตั้งขึ้นเป็น ต้องดำารงตำาแหน่งอธิการบดีด้วย ดังนั้นพลเรือเอก สินธุ์ กมลนาวิน 72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1
“มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์” โดยประกาศเป็นพระราชบัญญัติ จึงดำารงตำาแหน่งทั้งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัยคนแรก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ต่อมาในปี พ.ศ. 2488 มีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี นายทวี
เมื่อเริ่มก่อตั้งนั้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด บุณยเกตุ ได้ดำารงตำาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
4 คณะ ได้แก่ คณะเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์ คณะประมง และ และได้เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยคนที่ 2
คณะสหกรณ์ มีหลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี และหลักสูตรอนุปริญญา ในยุคนั้น ภาพของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
3 ปี ระหว่างนั้นยังคงสังกัดอยู่กับกระทรวงเกษตราธิการ ซึ่งเงื่อนไข ยังคงเป็นทุ่งนาเวิ้งว้างกว้างกว่า 800 ไร่ ซึ่งได้มาจากการเวนคืน
ทางกฎหมายกำาหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ ซื้อที่ดิน (ว่ากันว่าบริเวณติดถนนไร่ละประมาณ 60 บาท ส่วนแถว
รังสิตไร่ละ 30 บาท) การคมนาคมมีเพียงรถเมล์ปรับอากาศสาย
สะพานแดง - ดอนเมือง ค่าโดยสาร 8 สตางค์ หรือรถไฟสายเหนือ ซึ่ง
ต้องไปขึ้น - ลง ที่สถานีรถไฟบางเขนห่างจากมหาวิทยาลัยประมาณ
1.5 กิโลเมตร ส่วนถนนวิภาวดีรังสิตยังเป็นเพียงโครงการก่อสร้าง
ถนนซูเปอร์ไฮเวย์ มีเพียงคันดินถมไว้เป็นรูปถนน ดังนั้นชื่อเสียงของ
มหาวิทยาลัยในยุคแรกเริ่มนั้นจึงเป็นสถานที่ทุรกันดาร เปลี่ยว
เดินทางยากลำาบาก และไม่ค่อยมีข้าราชการต้องการมาบรรจุที่นี่
พลเรือเอก สินธุ์ กมลนาวิน ส่วนอาคารเรียนมีเพียง “เรือนเขียว” ซึ่งเป็นเรือนไม้รูปตัวแอล
นายกสภามหาวิทยาลัย 2 ชั้น ทาสีเขียวทั้งหลัง ตั้งเยื้องประตู 2 (ประตู 3 ในปัจจุบัน)
และอธิการบดีคนแรกของ ถนนงามวงศ์วาน ชั้นบนเป็นห้องเรียน มุขชั้นบนเป็นห้องผู้อำานวยการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์