Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





 พ.ศ. 2489  พ.ศ. 2491                                               พ.ศ. 2491
 นิสิตรับปริญญาปีแรกจากผู้แทนพระองค์   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเกษตรศาสตร์ที่แม่โจ้ แปรสภาพเป็นสถานศึกษาอาชีพ   จัดงานตลาดนัดเกษตรกลางบางเขนครั้งที่ 1
 (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ)  สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  จุดเริ่มต้นของงานเกษตรแฟร์ในปัจจุบัน




            มีศักยภาพทางการเกษตรสูงแต่ยังขาดการจัดการและองค์ความรู้  ยังผลให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล
            ทางวิทยาศาสตร์ แวดวงเกษตรกรรมของไทยช่วงนั้นจึงเติบโตอย่าง  หลวงสุวรรณฯ จึงส่งครูอาจารย์ไปเรียนต่อยังต่างประเทศหลายท่าน
            รวดเร็ว เพราะได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศ แต่ปัญหาหลัก  ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกเพื่อวางรากฐานด้านบุคลากรให้มหาวิทยาลัย
            คือการขาดแคลนบุคลากรด้านการเกษตร ข้าราชการที่เชี่ยวชาญ       ในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2491 มีการจัดตลาดนัดเกษตรกลาง
            หลายคนจึงต้องทำางานควบหลายตำาแหน่ง                      บางเขนครั้งที่ 1 ขึ้น เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จักเทคโนโลยี

                  ต่อมาในปี พ.ศ. 2489 มีการเปลี่ยนแปลงในระดับบริหาร   การเกษตร พืชพันธุ์ และสัตว์ใหม่ๆ มีทั้งนิทรรศการและทดลองชิม
            เมื่อสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พิจารณาว่า ตำาแหน่งอธิการบดี  ผลิตภัณฑ์เกษตรที่คนไทยสมัยนั้นยังไม่ค่อยรู้จัก งานตลาดนัดนี้
            ควรเป็นตำาแหน่งประจำา จึงแต่งตั้งให้หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ซึ่ง  ได้รับการตอบรับอย่างดี มีผู้คนมาเยือนมากมาย และมหาวิทยาลัย     65

            ขณะนั้นเป็นอธิบดีกรมปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ ขึ้นดำารงตำาแหน่ง  ได้นำาเสนอเทคโนโลยีการเกษตรใหม่ๆ ให้กับสาธารณะเป็นครั้งแรก
            เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การได้ดำารงตำาแหน่ง  ศาสตราจารย์จรัด สุนทรสิงห์ บันทึกถึงตลาดนัดเกษตรกลางบางเขน
            บริหารโดยบุคคลผู้ร่วมหัวจมท้ายกับการศึกษาด้านการเกษตร  ไว้ว่า “…ประชาชนหลั่งไหลกันมาชมมากมายทุกปี มากันตั้งแต่
            มาเกือบ 3 ทศวรรษอย่างหลวงสุวรรณฯ เป็นปัจจัยเสริมให้  ตีสามตีสี่ ผักหญ้าโดยเฉพาะมะเขือเทศ ทั้งของนิสิตและของ
            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พัฒนาและเติบโตเร็วราวกับพืชที่ได้นำ้า   คณะเกษตรศาสตร์ที่ปลูกไว้หลายสิบแปลง อันตรธานหายวับไป             72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1

            ปุ๋ย ดิน และแสงแดดดีพร้อมๆ กัน ในปีเดียวกันนั้นเอง ชาวเกษตรฯ   กับตาไม่ถึงครึ่งวัน  เราก็ไม่ว่าอะไร  ปล่อยให้เขาได้สนุกกันเต็มที่...”
            ได้รับพระราชทานวโรกาสรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร-         วิสัยทัศน์ของหลวงสุวรรณฯ มิได้จำากัดให้มหาวิทยาลัย
            มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลที่ 8) พร้อมกับ  เป็นเพียงสถานศึกษาหรือผลิตแต่งานวิจัยเท่านั้น แต่ยังต้องเป็น

            สมเด็จพระราชอนุชา ทั้งสองพระองค์เสด็จพระราชดำาเนินไป  หน่วยบริการความรู้ให้แก่สาธารณะด้วย จึงตั้งโรงเรียนไก่ทางวิทยุ
            ทอดพระเนตรการทำานา และทอดพระเนตรกิจการมหาวิทยาลัย  กระจายเสียงในปี พ.ศ. 2492 เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่
            เกษตรศาสตร์  พร้อมทั้งทรงหว่านข้าวในแปลงนาหลังตึกปฏิบัติการ
            เคมี
                  ปลายปี พ.ศ. 2490 เกิดรัฐประหารจนเป็นผลให้ในปีต่อมา

            พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กลับมาดำารงตำาแหน่ง
            นายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง หลวงสุวรรณฯ ได้ใช้โอกาสนี้เขียน
            จดหมายส่วนตัวส่งไปถึงจอมพล ป. เพื่อชี้แจงถึงความสำาคัญของ

            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเรียนนำาเสนอขอการสนับสนุนให้
            พิจารณาและนายกรัฐมนตรีมีหนังสือตอบ มีใจความบางส่วน ดังนี้
                  “…ขอขอบคุณในการที่คุณหลวงได้เอาใจใส่ในการปรับปรุง
            มหาวิทยาลัยนี้เป็นอันมาก ในปี 2492 ขอให้คุณหลวงตั้งงบ
            ประมาณไปให้เต็มที่ ผมยินดีจะสนับสนุนให้เป็นพิเศษ...” จดหมาย

            ตอบกลับของจอมพล ป. เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2491                      รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พระช่วงเกษตรศิลปการ)
                                                                                    แนะนำาผู้เชี่ยวชาญ FAO แก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79