Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





 พ.ศ. 2493  พ.ศ. 2493                    พ.ศ. 2494                                 พ.ศ. 2494
 จัดโครงการอบรมวิชาชีพสำาหรับประชาชนเป็นครั้งแรก  เริ่มมีนิสิตหญิงเป็นรุ่นแรก  รวมห้องสมุดมหาวิทยาลัยกับห้องสมุดของสถานีทดลองเกษตร  FAO ส่ง Dr. F. M. Fronda ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงไก่
 โดยสำานักส่งเสริมและฝึกอบรม             ของกรมกสิกรรม และใช้ชื่อว่า หอสมุดกลาง    จากฟิลิปปินส์มาช่วยแนะนำาการเลี้ยงไก่






                แรกมีนิสิตหญิง                                         โรงเรียนไก่ทางวิทยุ
                   นโยบายเปิดรับนิสิตหญิงมีที่มาจากการที่หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ�   ราวปี� พ.ศ.� 2492� หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจได้จัดรายการ
                ซึ่งเป็นอธิการบดีได้เล็งเห็นว่า� ผู้หญิงสามารถศึกษาวิชาเกษตรขั้นสูง   บรรยายความรู้ด้านการเลี้ยงไก่ผ่านวิทยุกระจายเสียง� เพื่อเผยแพร่
                ได้เช่นกัน�ดังนั้นในเดือนเมษายน�พ.ศ.�2493�มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   ความรู้และส่งเสริมให้คนไทยเลี้ยงไก่ทั้งแบบอุตสาหกรรมและพึ่งพาตนเอง�
                จึงมีนิสิตหญิงสอบเข้ามาสองคน� (สมัคร� 2� คน� สอบผ่านทั้ง� 2� คน)�   การบรรยายทางวิทยุนี้ผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงของกรมโฆษณาการ�
                คือ�น.ส.ดานา�โทรางกูร�(Dr.�Dana�Lee)�และ�น.ส.วารุณี�รัศมีทัต�   (กรมประชาสัมพันธ์)�และที่สถานีวิทยุ�1�ปณ.�เป็นครั้งคราว
                (ผศ.วารุณี� วงษา)� นิสิตหญิงจะต้องเข้าฝึกปฏิบัติงานไม่ต่างจาก   หลวงสุวรรณฯ��ได้พูดไว้ตอนหนึ่งว่า�“…การที่ข้าพเจ้าลองเปิดแผนก
                นิสิตชาย� ทั้งการขุดดินหรือตีเหล็ก� การทำ�แปลงเกษตร� งานไม้� แม้แต่   โรงเรียนไก่ทางวิทยุกระจายเสียงขึ้นนี้�ข้าพเจ้าไม่ได้หวังเลยว่าจะสามารถ
                                                                                                                                          69
                การปฐมพยาบาลหรือทำาคลอด� นิสิตหญิงทั้งหมดพักอาศัยและ   ให้ความรู้แก่ผู้ฟังในเรื่องไก่ได้มากมายกว้างขวางดังที่ท่านอยากรู้�ทั้งนี้
                อยู่ภายใต้การดูแลของศาสตราจารย์ชวนชม� จันทระเปารยะ� (ผู้ก่อตั้ง   เพราะความรู้อันจำ�กัดของข้าพเจ้าเองและเวลาอันจำ�กัดของกรมโฆษณาการ
                ภาควิชาคหกรรมศาสตร์�คณะเกษตร�ในปัจจุบัน)               เป็นอุปสรรคสำ�คัญที่คอยขัดขวางอยู่�แม้กระนั้นก็ตามข้าพเจ้ามาคิดว่า
                   ในปี� พ.ศ.� 2495� มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีนิสิตหญิงรวม   ถ้าหากข้าพเจ้าจะสามารถชี้ช่องให้บางท่านรู้ถึงวิธีที่จะหาความรู้หรือ
                ทั้งหมด�10�คน�จึงต้องมีการกำ�หนดระเบียบเครื่องแบบขึ้น�จากเดิมที่ใส่   เปิดกรุวิชาเรื่องไก่เอาเองได้บ้างก็ดี� หรือถ่ายทอดความรู้เล็กๆ� น้อยๆ�
                เสื้อสีสุภาพมีแขนและกระโปรงสีเข้มแบบใดก็ได้� เป็นเสื้อสีขาวปกฮาวาย�   ที่ข้าพเจ้ามี� และที่ข้าพเจ้าจะศึกษาต่อไปให้แก่ท่านผู้ฟังได้บ้างก็ดี� ก็นับว่า
                ผ่าอกตลอด�มีแขนไม่พับปลาย�แขนยาวถึงเหนือข้อศอก�ส่วนกระโปรงยัง   ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองฝ่าย� คือข้าพเจ้าได้รับความสุขกายสบายใจ   72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1
                เป็นสีดำ�หรือกรมท่า� ยังไม่กำ�หนดทรง� เช่นเดียวกับกระดุมและเข็มขัด�   ที่ได้ตอบแทนบุญคุณส่วนหนึ่งของชาติ� และในเวลาเดียวกันได้กระทำ �
                ต่อมาชุดนิสิตหญิงมีการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายครั้งจนกลายเป็น   ส่วนหนึ่งของหน้าที่คือเผยแพร่ความรู้เพื่อสาธารณประโยชน์�…ข้าพเจ้า
                ระเบียบข้อกำ�หนดเช่นในปัจจุบัน                         มีความเชื่ออย่างแน่วแน่ว่าการเลี้ยงไก่เป็นอาชีพจะทำาได้และเกิดขึ้น
                   ระยะแรกนิสิตหญิงเข้าเรียนในคณะเกษตรศาสตร์� ต่อมามีในคณะ  ในเมืองไทย�ดังที่เป็นอยู่แล้วในประเทศอื่นๆ...”
                ประมง�คณะเศรษฐศาสตร์สหกรณ์�คณะวนศาสตร์�(ที่เคยมีข้อแม้ว่า  หลวงสุวรรณฯ�เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเพียงคนเดียวขณะนั้น
                รับแต่ผู้ชาย)�จนกระทั่งมีนิสิตหญิงเรียนในทุกคณะ        ที่ไปจัดรายการสดและสอนประชาชนทางวิทยุกระจายเสียงเป็นประจำ�
                                                                       ทุกสัปดาห์






                   ทุกครั้งที่ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด คติการ กลับไปเยี่ยมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่านบอกว่าได้พบเห็นทุกสิ่งที่ดีขึ้น
               ทั้งทางกายภาพและงานวิจัย “อยากให้ในอนาคต มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งความรู้ มีโอกาสช่วยเหลือผู้คน ไปดูชาวบ้าน
               ว่าเขาทำาอะไร ถ้าทำาไม่ถูก เราต้องกลับมาศึกษา แล้วไปสอนชาวบ้าน กลับไปเอาวิชาการไปให้
                   “ในวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีอายุครบ 72 ปี รู้สึกยินดีที่มหาวิทยาลัยดำาเนินการเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร
               ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศไทย เพราะอาชีพเกษตรกรเป็นงานที่หนักและสำาคัญ”






                                                                            ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด คติการ
                                                                      ลูกศิษย์ผู้ใกล้ชิดที่ได้รับการปลูกฝังแนวคิด
                                                                และสืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83