Page 81 -
P. 81

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  ทศวรรษที่ 1

                                                           พ.ศ. 2495
                                                           หลวงสุวรรณฯ จัดให้มีการสอนเลี้ยงไก่และการถนอมอาหารแก่ประชาชนภาคฤดูร้อน






                                                                                 สายประตู�1�-�โรงสูบนำ้า�นำ้าในคูใสแจ๋วมองเห็นตัวปลากำ�ลังแหวกว่ายทีเดียว�
                                                                                 ทั้งจืดสนิทแทบจะบริโภคได้ถ้าเอามาต้มเสียก่อน� สำ�หรับกลิ่นอาจมีกลิ่นไม้นำ้า�
                                                                                 เช่น�ผักบุ้ง�ผักแว่น�สันตะวา�บ้างเล็กน้อย�เป็นกลิ่นธรรมชาติ�โรแมนติกดีออก�
                                                                                 สมัยนั้นพลาสติกยังไม่มี� ไม่มีใครรู้จักคำ�ว่ามลพิษ� หรือ� Pollution� คืออะไร�
                                                                                 มีสภาพเป็นอย่างไร� เพราะที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอยู่กลางทุ่งนา� ท่ามกลาง
                                                                                 อากาศบริสุทธิ์...
                                                                                    “…ตอนเย็น�จะเห็นนิสิตนุ่งผ้าขาวม้าโดดนำ้าดำ�ผุดดำ�ว่ายกันเป็นที่สำ�ราญ
                                                                                 ที่คูหน้าหอพัก�สำ�หรับวันเสาร์�-�อาทิตย์�ริมคูนำ้าจะกลายเป็นที่ซักผ้า�สมัยนั้น
      72                                                                         ยังไม่มีใครรู้จักผงซักฟอก�และกำ�ลังอยู่ในภาวะสงคราม�สบู่จึงเป็นของหายาก
                                                                                 ในตลาด� ต้องทำ�สบู่ใช้กันเอง� หรือไม่ก็ทำ�นำ้าด่างขี้เถ้า� ซึ่งใช้ซักผ้าได้ดี� ไม่เกิด
       72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1  เกษตรศาสตร์� ได้บันทึกถึงหอพักนิสิตหรือหอนอนเมื่อแรกเริ่มไว้ว่า� “…เมื่อ   จะได้ยินเสียงเดี่ยวจะเข้เพลงลาวแพนเจื้อยแจ้วออกมา� ผ่านมาทางหอ� 5�
                                                                                 มลพิษหรือทำ�ให้นำ้าในคูเน่าเสียแต่ประการใด
                                                                 หอพักนิสิตชาย 5 หลัง
                                                                                    “…นอกจากกีฬาต่างๆ� ที่เล่นกันในสมัยนั้นแล้ว� ยังมีกีฬารักบี้ฟุตบอล
                             หอพักและชีวิตนิสิตยุคแรก
                                                                                 ซึ่งเป็นกีฬาที่เด่นในระหว่างอุดมศึกษาด้วยกัน...� แต่ตอนเย็นๆ� เมื่อผ่านหอ� 3�
                                บุญรัตน์�สิริพราหมณกุล�อดีตข้าราชการสังกัดกองคลัง�มหาวิทยาลัย
                                                                                 ได้ยินเสียงซ้อมดนตรีสากล...
                             เริ่มตั้งมหาวิทยาลัย� มีหอพักอยู่� 5� หลัง� ก่อสร้างเรียงกันตามแนวถนน
                                                                                    “…มหาวิทยาลัยได้กรุณาซื้อโทรทัศน์ขนาด�21�นิ้ว�ยี่ห้อ�RCA�ให้�1�เครื่อง�
                                                                                 เอาไว้ให้ข้าราชการและนิสิตดูเพื่อพักผ่อนหย่อนใจในเวลาค่ำาคืน� โทรทัศน ์
                             หอ� 1� จรดถนนสายเมนประตู� 1� -� โรงสูบ� ลักษณะเป็นเรือนไม้� 2� ชั้น�
                                                                                 เครื่องนี้ได้ตั้งไว้ตรงหน้ามุขชั้นบนของเรือนเขียว�คนนั่งดูที่สนามหญ้าข้างล่าง�
                             มีมุขยื่นออกมา�ชั้นบนเป็นหอนอน�ชั้นล่างเป็นที่เก็บตู้ใส่เสื้อผ้า�โต๊ะทำ�งาน�และ
                             สิ่งอำ �นวยความสะดวกอีกตามสมควร�สำ�หรับส้วมใช้รวมกันอยู่ด้านหลัง�5�หอ�
                                                                                 สมัยนั้นโทรทัศน์เป็นของใหม่ราคาแพง...� แต่ไม่เฉพาะข้าราชการ� นิสิต� หรือ
                             ด้านหลังหอ�5�หลังดังกล่าวเป็นโรงครัวประกอบอาหารและโรงอาหาร�นิสิต
                                                                                 ต่างก็หอบลูกจูงหลานเอาเสื่อมาปูนอนดูกันอย่างสบาย� สิ่งที่ตามมาก็คือ
                             ทุกคนต้องมารับประทานอาหาร�ณ�โรงอาหารแห่งนี้ทุกมื้อ�(เพราะไม่มีร้าน
                                                                                 แม่ค้าขายนำ้าแข็ง� ขายถั่วลิสงต้ม� ข้าวเกรียบว่าว� อ้อยควั่น� และหลายอย่าง
                             ที่ขายอาหาร)�นำ้าบริโภคใช้นำ้าฝนที่รองใส่แท็งก์ไว้�สำ�หรับนำ้าอุปโภคใช้ในคู�(ซึ่ง
                             ขุดเอาดินขึ้นมาถมถนน)� หน้าหอพักซึ่งเป็นคูนำ้ายาวขนานกับถนนจนถึงถนน   คนในมหาวิทยาลัยเท่านั้นที่ดู� ชาวบ้านนอกมหาวิทยาลัยซึ่งอยู่ในละแวกนั้น
                                                                                 ที่ขายได้�หลั่งไหลกันเข้ามาซื้อขายกันเหมือนมีงานวัด...”




                       ความแน่นแฟ้นในสมัยยังเป็นนิสิตเกษตรศาสตร์ เป็นสิ่งที่ ดร.วิฑูรย์ยังคงระลึกถึง และเชื่อว่ามีส่วนสำาคัญให้การพัฒนา
                    แวดวงเกษตรของประเทศไทยเจริญรุดหน้าไปได้อย่างดี “เพราะว่าพื้นฐานเบื้องต้น เราเรียนมาด้วยกัน กินข้าวหม้อเดียวกัน
                    ทำางานอะไรต่างๆ ทุกข์สุขมันก็อยู่ด้วยกัน
                       “อยากให้นิสิตและบุคลากรทุกคนระลึกไว้ว่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คือมหาวิทยาลัยที่ทำางานเกี่ยวกับเกษตรกรรม
                    เป็นหลัก ผมภูมิใจว่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันที่ผมจบมา มันมีศักดิ์มีศรี มีความเจริญก้าวหน้า มหาวิทยาลัย
                    เกษตรศาสตร์เกิดขึ้นมาได้ในสมัยนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม อนุมัติให้สร้างมหาวิทยาลัย และก็ต้องภูมิใจว่า
                    ผู้ที่จบจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นอาจารย์สอนภาควิชาเกษตรศาสตร์ทุกมหาวิทยาลัยที่สร้างขึ้นมาทั้งหมด”

                                                                                        ดร.วิฑูรย์ กำาเนิดเพ็ชร์
                                                                                          ศิษย์เก่า KU รุ่นที่ 9
                                                                             อธิบดีกรมปศุสัตว์ (พ.ศ. 2531 - 2533)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86