Page 132 -
P. 132

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 114   ความชื้นและเสถียรภาพของอากาศ








                                                 =  c  (1 + 0.9w)                          . . . (5.22)
                                                    vd
               และ                             r   =  c /c
                                                c
                                                     vv vd
               ในกรณีของความจุความร้อนจ าเพาะของอากาศชื้น เมื่อความดันคงที่ (c ) เขียนได้ดังนี้
                                                                            pm
                                            c   =  c  (1 + 0.9 w)
                                                   p
                                             pm
                                                    (1  0 .6  ) w
                                                 R
               และ                    (R /c )  =    d
                                        m pm
                                                 c  (1  0 .6  ) w
                                                   p
                                                   k (1 – 0.2w)

               เมื่อ   w  มีค่าน้อยกว่า 10  ค่า  (R /c )    k
                                       -2
                                              m pm

                             ในกรณีที่อากาศมีไอน ้าอิ่มตัว เทอร์โมไดนามิกส์ของอากาศที่มีไอน ้าอิ่มตัว
               เกี่ยวข้องกับอุณหภูมิและกระบวนการอะเดียแบติกดังค่าของอุณหภูมิต่อไปนี้



                             อุณหภูมิจุดน ้าค้าง (dew point temperature, T ) เป็นอุณหภูมิที่อากาศชื้นที่มีความ
                                                                    d
               ดันและสัดส่วนผสมของไอน ้าในอากาศคงที่ เมื่ออากาศชื้นนี้เย็นลงจนถึงระดับความชื้นที่มีไอน ้า

               อิ่มตัว ซึ่งหมายความว่า สัดส่วนผสมของไอน ้าในอากาศไม่เปลี่ยนแปลง แต่อุณหภูมิลดลงจึงท า
               ให้ระดับความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้นจนถึงระดับที่มีไอน ้าอิ่มตัว ดังนั้นสัดส่วนผสมอิ่มตัวที่จุดน ้าค้าง
               จึงเท่ากับสัดส่วนผสมของอากาศชื้น

                                                    w  =  w  (T )
                                                             d
                                                          s
                             อุณหภูมิกระเปาะเปียก (wet bulb temperature, T ) เป็นอุณหภูมิที่อากาศเย็นลง
                                                                        w
               โดยการระเหยน ้าขณะที่มีความดันคงที่จนกระทั่งอากาศรอบกระเปาะเปียกมีไอน ้าอิ่มตัว ด้วยเหตุ
               นี้สัดส่วนผสมจึงไม่คงที่และอุณหภูมิจุดน ้าค้างจึงไม่เท่ากับอุณหภูมิกระเปาะเปียก (T   T )
                                                                                       d
                                                                                           w
                             เมื่อพิจารณาอากาศชื้นที่ประกอบด้วยอากาศแห้ง 1 กรัม และไอน ้า m กรัม ถ้าให้

               ความร้อนแก่มวลอากาศชื้นดังกล่าว ขณะที่ความดันไม่เปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของอากาศชื้นจะ
               เพิ่มขึ้นดังความสัมพันธ์ในสมการที่ (5.21)


                                           dQ   =  c  dT (1 + 0.8w)                             .  .  .  (5.23)
                                              h
                                                   p
                             ในขณะที่มีการระเหยน ้าจากผ้ามัสลินแช่น ้าที่หุ้มกระเปาะเปียก dm กรัม อากาศจะ
               ต้องการความร้อนในการระเหยน ้า


                                            (1 + w) dQ   =  -L dw
                                                      h
                                                            v
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137