Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 112   ความชื้นและเสถียรภาพของอากาศ








               ลดลง การลดลงของความดันไอน ้าท าให้อุณหภูมิจุดน ้าค้างลดลงตามความสูงที่เพิ่มขึ้นในอัตรา 2
               องศาเซลเซียสต่อกิโลเมตร

                             อัตราการลดลงของอุณหภูมิจุดน ้าค้าง (dew point lapse rate for unsturated air) = -

                0
               2 C/1000 m

                             ความชื้นจ าเพาะ (specific humidity, q) หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวลของไอน ้า
               ในอากาศชื้นต่อมวลของอากาศชื้น (อากาศแห้ง+ไอน ้า)



                                            q  =    m v      =     v
                                                 m    m       
                                                   v     d
                                                             R (  R /  e )
                                            =      v      =     d   v
                                                                R d
                                                d     v     p   ( 1   e )
                                                                   R
                                                                     v
                                                R d   e
                                            =  (   )(  )                                 .  .  .  (5.16)
                                                R     p
                                                  v
                              ในกรณีที่อากาศมีไอน ้าอิ่มตัว ค่าของสัดส่วนผสมอิ่มตัวและความชื้นจ าเพาะ
               อิ่มตัว (q ) เขียนได้ดังนี้
                       s

                                                   R       e
                                            w  =  (  d  )(  s  )                          . . . (5.17)
                                              s
                                                   R     p   e
                                                     v        s
                                           q   =    R (  d  R /  v  e )  s                 . . . (5.18)
                                            s
                                                 p   ( 1  R  d  e )
                                                              s
                                                        R
                                                          v
                              เมื่อพิจารณาอุณหภูมิของอากาศชื้นที่ลอยขึ้นไปในระดับความสูงต่างๆ เพื่อ

               เปรียบเทียบเป็นอุณหภูมิของอากาศแห้งที่มีความหนาแน่นเท่ากันและมีความดันเดียวกัน

               อุณหภูมิของอากาศแห้งนี้ไม่ใช่อุณหภูมิจริงแต่เป็นอุณหภูมิเสมือน (virtual temperature, T ) ของ
                                                                                             v
               อากาศชื้นเมื่อคิดเป็นอากาศแห้ง ถ้าอากาศชื้นมีปริมาตร V มีความดันรวม p และมีความดันไอน ้า
               e จะสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง p และสัดส่วนผสม (w) และเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง T
                                                                                                  v
               และ w ได้ดังนี้


                                            p  =  p  + e
                                                  d

                                               =   R T +  R T
                                                          v v
                                                  d d
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135