Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 88    กระบวนการคายระเหยน ้า








               (weighting  method)  ของทั้งสองหลักการ  ซึ่งสมการดังกล่าว เรียกว่า สมการการระเหยน ้าของ
               เพนแมน (Penmann’s equation)


                                     E vc   =      /( + ) E  + /( + ) E             . . . (4.32)
                                                             ve
                                                                          va
               เมื่อ    E     =   อัตราการระเหยน ้า เมื่อค านวณโดยวิธีสมดุลพลังงานและอากาศพลศาสตร์
                         vc

               กรณีศึกษาที่  4.3 อ่างเก็บน ้าบริเวณพื้นที่ลุ่มน ้าห้วยฮ่องไคร้ได้รับพลังงานสุทธิ (net  energy)

                                -2                    0
               ตลอดวัน 200 W m  อุณหภูมิของอากาศ 25 C ค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยร้อยละ 40 ความเร็วลม
                         -1
               เฉลี่ย 3 m s  และความดันของอากาศเฉลี่ยเท่ากับ 101.3 kPa อัตราการระเหยจากผิวน ้าตลอดวัน
               โดยใช้วิธีสมดุลพลังงานร่วมกับวิธีอากาศพลศาสตร์ มีค่าเท่าไร


               แนวคิด ปริมาณน ้าที่ระเหยจากอ่างเก็บน ้า เมื่อค านวณจากวิธีสมดุลของพลังงาน ซึ่งมีค่าพลังงาน
                                     -2                      -1
               สุทธิตลอดวัน 200 W  m  มีค่า E   = 7.10  mm day   และปริมาณน ้าระเหยจากอ่างเก็บน ้า เมื่อ
                                             ve
                                                                 -1
                                                 va
               ค านวณจากวิธีอากาศพลศาสตร์ มีค่า E  = 7.45 mm day  ปริมาณน ้าระเหย เมื่อค านวณจากวิธี
               สมดุลพลังงานร่วมกับวิธีอากาศพลศาสตร์ ค านวณจาก


                                            E      =       /( + ) E  + r/( + ) E va
                                                                     ve
                                              vc
                             ค่า   ค านวณจากสมการที่ (4.32)  เมื่อความจุความร้อนจ าเพาะที่ความดันคงที่

                                                                                          3
                                                                                               -1
               c  = 1005 J kg K  ในกรณีที่อากาศมีสภาพเสถียรค่า K /K  = 1 และ L  = 2441  10  J kg  ที่
                            -1  -1
                p
                                                                h w
                                                                              v
                  0
               25 C
                                                               c  K 
                                                  =            p  h
                                                             . 0  622  L  K
                                                                    v  w
                                                   =        , 1 005   101  3 .   10 3
                                                            . 0  622   , 2 441   10 3

                                                                 0 -1
                                                   =       67.1 Pa  C
                                0
               ค่า  ที่อุณหภูมิ 25 C ค านวณจากสมการที่ (4.32) เมื่อ e  =  e  =  3,167 Pa ดังนั้น
                                                               s
                                                                   as
                                                  =           , 4  098 e s
                                                           ( 237  3 .   ) T  2

                                                   =        , 4  098   , 3  167

                                                           ( 237  3 .   25 ) 2
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111