Page 103 -
P. 103
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 85
e = 611 exp[17.27T /(237.3+T )]
z
a
d
T = อุณหภูมิจุดน ้าค้าง (dew point temperature)
d
T = อุณหภูมิที่ผิวน ้า
W
T = อุณหภูมิของอากาศเหนือผิวน ้า 2 เมตร
a
เนื่องจาก (dm /dt) = E
v
w va
E = K (e – e ) . . . (4.24)
as
va
a
2
2
และ K = 0.622 k u / p [ln(z /z )]
w
v a 2
2 0
เมื่อ K = สัมประสิทธิ์การถ่ายเทมวลของไอน ้า (Vapor transfer coefficient)
E = อัตราการระเหยน ้าจากแหล่งน ้า เมื่อค านวณโดยวิธีอากาศพลศาสตร์
va
หมายความว่า น ้าที่ระเหยจากพื้นที่แหล่งน ้า 1 ตารางเมตรในขณะใดๆ นั้น เกิด
จากอิทธิพลของลมที่พัดพาความชื้นออกจากพื้นที่แหล่งน ้าและอิทธิพลของการลอยของความชื้น
ขึ้นสู่ระดับสูงที่สูงขึ้นจากเดิม
กรณีศึกษาที่ 4.2 การระเหยน ้าจากผิวน ้าของอ่างเก็บน ้าห้วยฮ่องไคร้มีค่าเท่าไร เมื่ออุณหภูมิของ
0
อากาศเหนือผิวน ้ามีค่า 25 C ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity) ร้อยละ40 ความดันอากาศ (air
pressure) 101.3 kPa และความเร็วลมเฉลี่ยตลอดวันนั้น 3 เมตรต่อวินาที ค่าทุกค่าวัดที่ความสูง
จากพื้นผิวน ้า 2 เมตร และในวันดังกล่าวลมไม่แรงจึงมีระลอกคลื่นที่เป็นความไม่ราบเรียบของผิว
น ้า (roughness height) z = 0.03 เซนติเมตร
0
แนวคิด เนื่องจากทราบจากโจทย์เฉพาะความเร็วลมและความชื้นในอากาศจึงควรค านวณการ
ระเหยน ้าโดยวิธีอากาศพลศาสตร์ ซึ่งค านวณค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทมวลของไอน ้า (vapor
transfer coefficient, K) จากสมการ (4.24)
3
0
3
ใช้ค่า k = 0.4, = 1.19 kg/m ส าหรับอากาศ 25 C และ = 997 kg/m
w
v
a
ดังนั้น K = 0.622 k u / p [ln(z /z )]
2
2
w
2 0
v a 2
-4
2
3
2
= [0.622 (0.4) 1.19 3]/[101.3 10 997 {ln[2/(3 10 )]} ]
-1 -1
= 4.54 10 m Pa s
-11
0
ค่าอัตราการระเหยจากสมการ (4.24) ใช้ค่า e = 3,167 Pa ที่อุณหภูมิ 25 C (จาก
as
ตารางที่ 4.2) และจากสมการของความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity, R.H.)