Page 104 -
P. 104
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
86 กระบวนการคายระเหยน ้า
R.H. = (e /e )
a as
เมื่อ e = ความดันไอน ้าอิ่มตัว(saturated vapor pressure) มีหน่วยเป็นปาสคาล (Pa)
as
ดังนั้น e = R.H. e
a
as
= 0.4 3,167 = 1,267 Pa
อัตราการระเหยน ้าโดยวิธีอากาศพลศาสตร์
E = K (e – e )
va
a
as
-11
= 4.54 10 (3,167 – 1,267)
-1
-8
= 8.62 10 m s
-1
หรือ E = 7.45 mm day
va
ดังนั้นในวันดังกล่าวมีน ้าระเหยจากอ่างเก็บน ้าห้วยฮ่องไคร้ 7.45 มิลลิเมตร
4.2.4 การคาดคะเนปริมาณระเหยน ้าโดยวิธีสมดุลของพลังงานและอากาศพลศาสตร์
จากการคาดคะเนการระเหยน ้าโดยวิธีอากาศพลศาสตร์นั้นมีข้อก าหนดที่ส าคัญ คือ
มีพลังงานที่สามารถถ่ายเทให้กับผิวระเหยได้อย่างไม่จ ากัดเช่นเดียวกันกับการคาดคะเนการระเหย
น ้าจากแหล่งน ้าโดยวิธีสมดุลของพลังงานก็มีข้อก าหนดส าคัญ คือ ต้องไม่มีข้อจ ากัดในการถ่ายเท
มวลของไอน ้าให้ลอยขึ้นสู่ระดับสูงขึ้นไป แต่ความเป็นจริงแล้วมีข้อจ ากัดทั้งด้านพลังงานและการ
ถ่ายเทมวลของไอน ้า กล่าวคือ พลังงานทั้งหมดอาจไม่ได้ถูกน าไปใช้เพื่อการระเหยน ้าเพียงอย่าง
เดียว ในขณะที่การลอยขึ้นไปของไอน ้าอาจไม่คงที่ตลอดเวลา ดังนั้นจึงต้องใช้วิธีทั้งสองร่วมกันใน
การคาดคะเนการระเหยน ้าดังกล่าว
ในกรณีของการคาดคะเนโดยวิธีสมดุลพลังงาน ค่าของความร้อนที่เพิ่มอุณหภูมิ
ของอากาศ (sensible heat, H ) นั้นเป็นค่าที่ค านวณได้ยาก แต่เนื่องจากการถ่ายเทมวลของไอน ้า
s
และการถ่ายเทความร้อนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นควบคู่กัน ดังนั้นค่าของความร้อนที่ถูกถ่ายเท
ออกไปจากแหล่งน ้า เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของอากาศ จึงเป็นอัตราส่วนกับค่าของพลังงานที่ใช้ในการ
ระเหยน ้า โดยปกติเรียกอัตราส่วนนี้ว่า อัตราส่วนโบเวน (Bowen ratio, B)
B = H /(L E ) . . . (4.25)
v W v
s
จากสมการสมดุลของพลังงาน E = H + L E + G
s
n
v w v
แต่อ่างเก็บน ้าไม่สามารถสะสมพลังงานลงสู่พื้นดิน G = 0
E = H + L E
s
v w v
n