Page 105 -
P. 105
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 87
= L m + H
v w v
s
= L m + BL m
v w v
v v
E = L m (1+B) . . . (4.26)
n
v w v
จากความสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายเทมวลของไอน ้าและการถ่ายเทความร้อน
(dm /dt) = - K (dq/dz) . . . (4.27)
a v
v
H = - c K (dT/dz) . . . (4.28)
a p h
s
เมื่อ K = สัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทความร้อนแบบอลวน (Eddy heat transfer coefficient)
h
เมื่อเขียนสมการทั้งสองในรูปการวัดความแตกต่างของความชื้นจ าเพาะและ
อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง
(dq/dz) = (q -q )/(z -z ) และ (dT/dz) = (T -T )/(z -z )
2
1
2 1
2 1
2 1
ดังนั้นอัตราส่วนระหว่าง (dm /dt) และ H สามารถเขียนในเชิงหลักการของอากาศ
s
v
พลศาสตร์ได้ดังนี้
H /(dm /dt) = c K (T -T )/K (q -q ) . . . (4.29)
s
p h
v
v 2 1
1
2
แต่ q = 0.622 (e/p) และ B L = (H /L m )
s v v
v
ดังนั้น B = p c K (T -T )/0.622K L (e -e ) . . . (4.30)
p h
v v 2 1
1
2
และ B = (T -T )/(e -e ) . . . (4.31)
2 1
1
2
เมื่อ = ค่าคงที่ด้านความชื้น (Psychrometric constant) = p c K /0.622L K
p h
v v
และ = อัตราส่วนของความดันไอน ้าอิ่มตัวและอุณหภูมิ
2
de /dT = 4098 e /(237.3+T)
s
s
Priestley & Taylor (1972) เสนอความคิดว่า K /K ควรมีค่าเท่ากับ 1 เนื่องจาก
h v
ขณะที่มีการระเหยน ้า ค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทความร้อนและสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทมวล
ของไอน ้า มีค่าสอดคล้องกันตลอดเวลา กล่าวคือ ค่าหนึ่งสูงอีกค่าก็สูงตาม ค่าหนึ่งต ่าอีกค่าหนึ่งก็
ต ่าด้วย
ในการคาดคะเนปริมาณการระเหยน ้าจากแหล่งน ้าควรใช้หลักการทั้งด้านสมดุลของ
พลังงานและการถ่ายเทมวลของไอน ้าตามหลักการด้านอากาศพลศาสตร์ แต่การระเหยน ้าในแต่ละ
พื้นที่ได้รับอิทธิพลจากพลังงานและการถ่ายเทมวลของไอน ้าไม่เท่ากัน จึงต้องใช้วิธีการถ่วงน ้าหนัก