Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               Independent Basic Service Set (IBSS) ซึ่งแตละสถานีจะเชื่อมตอกันโดยไมผาน Access Point (AP) จึง
               เปนเครือขายที่ติดตอกันภายในโดยไมสามารถเขาถึง Internet ได แตสวนมากโครงสรางของ WLAN จะเปน

               แบบ (b) ซึ่งเชื่อมตอผาน AP พื้นที่ครอบคลุมของ AP แตละตัวอาจทับซอนกัน การ Handoff เกิดขึ้นไดคลาย
               กับกรณีของเซลลูลาร  ถึงแมหางระหวาง  AP  กับสถานีจะเปนขอจํากัดของการใชงานขณะเคลื่อนที่  แต
               โครงสรางนี้ก็รองรับการใหบริการไดอยางกวางขวางภายในมหาวิทยาลัย



























                                        รูปที่ 1-6 สถาปตยกรรมโครงสราง WLAN (Yeh, 2003)


                     มาตรฐานตาง ๆ ของ WLAN ซึ่งก็คือ IEEE 802.11 a/b/g/n ใชการเขาถึงตัวกลาง (MAC Layer) แบบ
               เดียวกันคือ Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance (CSMA/CD) จึงไมมีชุมสายคอย
               จัดสรรชองสัญญาณเชนในระบบเซลลูลาร  เนื่องจากชองความถี่ที่ใชเปนยาน  ISM  แตละมาตรฐานจะแตกตาง

               กันในชั้นกายภาพ (Physical Layer) ซึ่งใชเทคนิคการสงสัญญาณตางกันที่ยานความถี่ 2.4 GHz หรือ 5 GHz
               จึงใหอัตราขอมูลที่แตกตางกัน Wi-Fi ที่รูจักกันทั่วไปสําหรับ WLAN นั้นคือมาตรฐาน 802.11b

                                   ตารางที่ 1-1 เปรียบเทียบมาตรฐานตาง ๆ ของ WLAN (Yeh, 2003)

















                     3.  มาตรฐาน Bluetooth/Zigbee

                     มาตรฐาน  Bluetooth  นั้นพัฒนาขึ้นมาสําหรับการสื่อสารระยะใกลประมาณ  10-100  เมตร  (ที่กําลัง

               งานเพียง 1-100 mW) เชื่อมตอในยานความถี่ ISM ที่ 2.4 GHz ดวยเทคนิค Frequency Hopping Spread
               Spectrum (FHSS) ซึ่งมีความถี่ของคลื่นพาหแตละตัวหางกัน (Carrier spacing) 1 MHz โดยมีแบนดวิดธรวม
               80 MHz ใหอัตราขอมูลประมาณ 1 Mbps รองรับการใชงานไดถึง 8 ชองสัญญาณในเวลาเดียวกัน ประยุกตใช



               หนา 8
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20