Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               ประยุกตใชการเขารหัสชองสัญญาณ (Channel coding)  ที่เหมาะสมสามารถชวยลดอัตราบิตผิดพลาดของ
               ขอมูลลงได การเลือกใชเทคนิคตาง ๆ ที่มีอยูนั้นขึ้นอยูกับความตองการและเงื่อนไขของแตละระบบ ซึ่งเราจะ

               ไดเรียนหลักการพื้นฐาน รวมทั้งการพิจารณาขอดีและขอเสียของแตละเทคนิค เพื่อใหสามารถประยุกตใช
               เทคนิคตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม


               1.3 มุมมองการสื่อสารไรสายในอนาคต

               การสื่อสารไรสายเปนเทคโนโลยีแหงโลกอนาคตในแงของศักยภาพระบบที่จะทํามาซึ่งความสะดวกสบาย  ใน
               การติดตอสื่อสารไดอยางไรพรมแดน ทุกรูปแบบ และทุกเวลา ที่สามารถชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษยได

               ตัวอยางเชน  ในถิ่นทุรกันดาร  การวินิจฉัยและรักษาพยาบาลเบื้องตนอาจเขาถึงดวยระบบโรงพยาบาลทางไกล
               (Remote hospital) การเรียนการสอนทางไกล (Remote classroom) จะไดรับการพัฒนาใหเสมือนจริงมาก
               ขึ้น  โดยมีการโตตอบผานเครือขายไรสาย  อุปกรณอิเล็กทรอนิกสขนาดเล็กกระทัดรัดอาจถูกนํามาประยุกตใช
               ใหเชื่อมตอกันผานเครือขายไรสายได เพื่อชวยเฝาระวังผูสูงอายุที่อาจมีโรคประจําตัว ผูพิการ หรือ แมกระทั่ง

               อุปกรณ  เครื่องใชไฟฟาตาง  ๆ  ภายในบานก็สามารถเชื่อมตอกันเพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัย
               ตัวรับรูแบบไรสาย  (Wireless sensor)  สามารถนําไปใชในเครือขายสําหรับเฝาระวังดานตาง  ๆ  ทั้งภัย
               ธรรมชาติ หรือ อุบัติเหตุตาง ๆ เปนตน































                                รูปที่ 1-4 ตัวอยางแนวคิดบานอัจฉริยะ (Smart Home Technology, 2011)


                     สิ่งทาทายที่จะทําใหการสื่อสารไรสายพัฒนาไปสูมุมมองในอนาคตอยางแทจริง   คือการตองคิดคนหา
               เทคนิคที่จะสงขอมูลอัตราบิตสูงขึ้น  พรอม  ๆ  กับรองรับจํานวนผูใชไดมากขึ้น  เทคนิคการมอดูเลต  (มีผลตอ

               ประสิทธิภาพกําลังและประสิทธิภาพแบนดวิดธ) ตองถูกรวมเขากับเทคนิคการมัลติเพล็กซ (มีผลตอความจุของ
               ระบบ)  เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด  นอกจากนั้นยังตองพิจารณารวมกับการเขารหัสแบบตาง  ๆ  เพื่อเพิ่ม
               สมรรถนะของระบบดวย  ในดานความสะดวกในการพกพาหรือเคลื่อนยายอุปกรณก็จําเปนตองใชเทคนิคการ
               ประมวลผลสัญญาณที่มีสมรรถนะสูง กินไฟต่ํา เพื่อใหอายุการใชงานของอุปกรณยาวนานที่สุด การประยุกตใช
               ในหลาย  ๆ  ดานโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน  ตองการความมั่นใจในคุณภาพของการใหบริการ





                                                                                                    หนา 5
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17