Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               1.2 ชองสัญญาณไรสาย


               การสื่อสารไรสาย เปนการสงผานสัญญาณขอมูลไปยังปลายทางที่อยูหางกันระยะหนึ่ง โดยไมอาศัยตัวนํา
               สัญญาณไฟฟา หรือ “สาย” ซึ่งระยะทางนั้นอาจเปนชวงสั้น ๆ เชน การใชรีโมทควบคุมโทรทัศน (TV remote
               control) หรือ ระยะทางไกลหลายรอยกิโลเมตรเชน การสงคลื่นวิทยุ หรือ สัญญาณดาวเทียม คุณลักษณะเดน
               ของการสื่อสารไรสาย ซึ่งชวยตอบสนองความตองการในติดตอสื่อสารขอมูลทุกรูปแบบ ทุกเวลา และทุก

               สถานที่ไดโดยไมติดปญหาอุปสรรคในการเชื่อมตอสายสัญญาณนั้น อาศัยการสงขอมูลผานชองสัญญาณไรสาย
               โดยตัวกลางที่ใชก็คืออากาศนั่นเอง หลักการพื้นฐานในการสงขอมูลผานอากาศก็คือทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟา
               (Electromagnetic wave theory)  ซึ่งสามารถจําแนกลักษณะของชองสัญญาณออกไปตามคุณสมบัติของ
               คลื่นที่ความถี่ตาง ๆ เชน ไมโครเวฟ วิทยุ อินฟราเรด (Infrared) เปนตน ดังแสดงในรูปที่ 1-3 คลื่นยานความถี่

               ต่ํา (VLF, LF) ซึ่งมีการลดทอนต่ํา (Low attenuation) แตถูกรบกวนไดงายจากฟารอง ฟาผา (Atmospheric
               noise) จะถูกใชงานในการเดินเรือ การนําทาง (navigation) หรือเฝาดูพฤติกรรมสัตว คลื่นความถี่ยาน MF,

               HF และ VHF ถือเปนยานความถี่วิทยุ ที่ใชงานในการกระจายคลื่นวิทยุ AM/FM รวมทั้งกลุมวิทยุสมัครเลนที่
               ใชงานตามยานความถี่ที่ไดรับจัดสรร ยาน UHF เปนยานที่มีการใชงานสูงสําหรับการสื่อสารไรสายในปจจุบัน
               ในสวนของความถี่ที่ใชสําหรับเครือขายเซลลูลารก็จะตองประมูลกันดวยราคาแพง ชองสัญญาณความถี่ตาง ๆ
               นั้นไดถูกจัดสรรและใชงานอยางหนาแนนขึ้นเรื่อย ๆ จึงเปนสิ่งทาทายที่สําคัญของนักวิจัยในการพัฒนาเทคนิค

               ตาง ๆ ซึ่งจะทําใหสามารถใชชองสัญญาณที่มีอยูอยางจํากัดใหไดประสิทธิภาพสูงสุด
























                            รูปที่ 1-3 ชองสัญญาณไรสายที่แบงออกตามชวงความถี่ตาง ๆ ตามคุณสมบัติการใชงาน


                       เนื่องจากชองสัญญาณไรสายมีลักษณะเปดทําใหมีสัญญาณรบกวนไดมาก อีกทั้งการเดินทางของ
               สัญญาณจากตัวสงไปยังตัวรับก็อาจมีไดหลายเสนทางขึ้นกับสิ่งกีดขวางตาง ๆ นอกจากนั้นสภาพแวดลอมที่
               เปลี่ยนแปลงและการใชงานขณะเคลื่อนที่ ทําใหชองสัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา (Time varying) ซึ่ง

               ทั้งหมดนี้เปนสาเหตุหลักที่ทําใหอัตราบิตผิดพลาดในระบบสื่อสารไรสายนั้นคอนขางสูง จึงเปนสิ่งที่ทาทายใน
               การเพิ่มสมรรถนะของระบบที่จะสามารถสงขอมูลความเร็วสูงที่อัตราบิตผิดพลาดต่ําได นอกจากนั้นขอมูลที่สง
               ยังมีความเสี่ยงตอการถูกขโมย ดักฟงหรือทําลาย การวิจัยพัฒนาเทคนิคใหม ๆ สําหรับการรวมใชชองสัญญาณ
               (multiplexing) เปนแนวทางหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการใชชองสัญญาณและสามารถลดการรบกวนจาก

               ผูใชอื่นได การประยุกตใชการเขารหัส (Encryption) สามารถเพิ่มความปลอดภัยของขอมูล และการ




               หนา 4
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16