Page 191 -
P. 191
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
182
(ก) (ข)
รูปที่ 6.17 ภาพสองและสามมิติของตัวกรองความถี่ต่ําผานแบบอุดมคติที่มี
คาความถี่คัตออฟ (ก) D =20 และ (ข) D =30
0
0
เนื่องจากเราสรางตัวกรองในโดเมนความถี่โดยตรง ตัวกรองนี้จะถูกนําไปคูณกับฟูริ
เยรของภาพอินพุต ภาพผลลัพธที่ไดจากการกรองเกิดจากการแปลงกลับฟูริเยรของ
ผลคูณที่คํานวณได คําสั่ง MATLAB ที่ใชในการกรองความถี่ต่ําผานเปนดังนี้
>> im = imread (iris.png'); %อานภาพอินพุต
% แปลงภาพใหอยูในโดเมนความถี่และปรับใหความถี่ (0,0) อยูกลางภาพ
>>f_im = fftshift(fft2(im));
% แสดงภาพอินพุตที่ไดในโดเมนความถี่
>> figure, imagesc(1+log(abs(fim)));
>> lpf_im = >> f_im.*mask; % ผานตัวกรองความถี่ต่ําผาน
>> result = ifft2(f_im); % แปลงภาพกลับ
>> figure, imagesc(result); % แสดงภาพผลลัพธที่ได
รูปที่ 6.18 แสดงผลัพธที่ไดจากการกรองความถี่ต่ําเมื่อกําหนดคา D =20 และ D =30
0
0
ซึ่งจะสังเกตุเห็นไดวารายละเอียดบริเวณขอบของภาพทั้งสองจะแตกตางกัน เมื่อ D
0
มีคานอย ภาพที่ไดจะเบลอมาก ทั้งนี้เนื่องจากที่คา D นอยๆ มีปริมาณสัญญาณที่ผาน
0
ตัวกรองมาไดนอย คา D ยิ่งนอย ปริมาณสัญญาณความถี่สูงของภาพ เชน เสนและ
0
ขอบตางๆจะไมสามารถผานตัวกรองไดเปนจํานวนมาก มีเพียงสัญญาณความถี่ต่ํา
กลุมเล็กๆเทานั้นที่ผานได ทําใหภาพที่ไดเบลอมากกวา