Page 127 -
P. 127

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 118

                          การเปลี่ยนแปลงคาความเขมแสงหลัก  ๆ  ที่พบเห็นบอยแสดงในรูปที่ 4.11  การ

                          เปลี่ยนแปลงของความเขมแสงในโดเมนพื้นที่นั้นเมื่อพิจารณาในโดเมนความถี่
                          บริเวณนั้นจะจัดวาเปนสัญญาณที่มีความถี่สูง การดักจับหรือกรองสัญญาณความถี่สูง

                          ภายในภาพจะทําโดยอาศัยทฤษฎีการหาอนุพันธของสัญญาณ        ซึ่งรายละเอียดทาง

                          เทคนิคจะกลาวเพิ่มเติมในบทถัดไป   ในบทนี้จะกลาวในลักษณะของตัวกรองที่ใช

                          งาน  โดยจะมีตัวกรองหลักอยู 2  กลุมที่ใชในการกรองขอบคือ  ตัวกรองเกรเดียนท
                          และ ตัวกรองลาปาเซียน




                                                                           Roof
                                            Step





                                            Line                          Niosy





                                                   รูปที่ 4.11 ขอบแบบตางๆ




                          4.5.1 ตัวกรองเกรเดียนท (Gradient Filter)


                             ตัวกรองเกรเดียนทเปนตัวกรองขอบแบบมีทิศทาง มาสคที่ใชในการกรองขอบแต

                             ละทิศทาง ไดแก ขอบในแนวตั้ง  แนวนอน แนว +45° หรือแนวอื่นๆจะมีคาสัม

                             ประสิทธที่แตกตางกัน  โดยคาสัมประสิทธิ์ของมาสคจะมีรูปแบบที่คลายคลึงกับ

                             รูปแบบของขอบที่ตองการกรอง  และคาสัมประสิทธิ์จะทําหนาที่ในการหาผลตา
                             งะหวางพิกเซลรอบๆพิกเซลที่เราสนใจ  ตารางที่ 4.4  แสดงตัวอยางตัวกรองเกร

                             เดียนทที่นิยมใชในงานประมวลผลภาพ
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132