Page 113 -
P. 113

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 104

                          จะตองทําการกลับมาสคเปนมุม 180 องศากอนการทําคอนโวลูชัน ในขณะที่ไมมีการ

                          กลับมาสคในขบวนการทําคอรีเลชัน


                          ตัวอยางเชน ถากําหนดสัญญาณ 1 มิติ f(x) = {0 0 1 0 0} ขนาดความยาว 5 กับมาสค

                          m(i) = {0 1 2 3 1} ขนาดความยาว 5 การทําคอรีเลชันเริ่มตนดวยการขยายขอบของ

                          สัญญาณ  ในตัวอยางใชการขยายขอบแบบ zero padding   หลังจากนั้นจะทําการคอ
                          รีเลชันสัญญาณทั้งสองตามสมการที่ 4.3 ซึ่งเปนสมการคอรีเลชันของสัญญาณ 1 มิติ



                                                 f  ′ x)(  = ∑  m( i)  f  x (  + i)           (4.3)

                                                           i ∈ω


                          โดย i แทนตําแหนงอางอิงของมาสค สมการที่ 4.3 นี้สามารถมองใหเหมือนการเลื่อน
                          หนาตางของสัญญาณทั้งสองใหซอนทับกันแลวจึงทําการคํานวณคาผลบวกของผล

                          คูณของคาที่หนาตางซอนทับกันดังแสดงกลไกในรูปที่ 4.5 ดานซายมือ สวนรูปดาน

                          ขวามือจะแสดงกลไกการทําคอนโวลูชันของสัญญาณทั้งสอง         จะสังเกตุไดวาเรา

                          จะตองทําการกลับมาสค 180  องศารอบจุดศูนยกลางของมาสคกอนการทําคอนโวลู
                          ชัน การทําคอนโวลูชันของสัญญาณ 1 มิติสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้



                                                 f  ′ x)(  = ∑  m( i)  f  x (  − i)          (4.4)

                                                           i ∈ω


                          สมการที่ 4.3 และ 4.4 ตางกันที่เครื่องหมายของจุดพิกัดที่ใชในการคํานวณ โดยมีการ
                          เปลี่ยนจากเครื่องหมาย + เปนเครื่องหมายลบ ผลลัพธที่ไดจากการคํานวณจะมีขนาด

                          ที่ใหญกวาขนาดของสัญญาณตนฉบับ ใน MATLAB จะเรียกผลลัพธที่วาแบบ “full”

                          แตบอยครั้งที่เราจะทอนขนาดของสัญญาณที่ไดใหมีขนาดเทากับขนาดของสัญญาณ
                          ตนฉบับ ผลลัพธลักษณะนี้จะเรียกวาแบบ “same”
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118