Page 116 -
P. 116

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       107

                                   ที่สุด  ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 4.6  แตอยางไรก็ตามผลลัพธของการทํา template

                                   matching  จะขึ้นอยูกับคาความเขมแสงของภาพตนฉบับดวยทําใหคาสูงสุดที่ไดจาก
                                   การทําคอรีเลชันไปตกอยูในบริเวณที่จุดภาพมีคาความเขมแสงแทนบริเวณที่เหมือน

                                   สัญญาณที่เราตองการหาได  ปญหานี้สามารถแกไขไดดวยการทําคอรีเลชันแบบปรับ

                                   เทียบความเขมแสงที่เรียกวา normalized correlation  รายละเอียดการทํา normalized

                                   correlation จะกลาวในบทถัดๆไป


                                                 ตารางที่ 4.1 ตัวเลือกสําหรับการทําคําสั่ง imfilter(.)

                                               ตัวเลือก                          ความหมาย

                                       ชนิด         ‘’           กรณีไมกําหนด จะเปนการทําคอรีเลชัน

                                      โอเปอเรเตอร  ‘corr’       คอรีเลชัน

                                                    ‘conv’       คอนโวลูชัน

                                      การขยายขอบ ‘’              กรณีไมกําหนด จะทําการขยายขอบดวยคา ‘0’
                                      สัญญาณ        ‘N’          ขยายขอบดวยคาคงที่ ‘N’

                                                    ‘replica’    ขยายขอบดวยใสคาบริเวณขอบซ้ํา

                                                    ‘symmetric’  ขยายขอบดวยการใสคาที่เหมือนกับเราวาง
                                                                 กระจกที่บริเวณขอบภาพ (ภาพที่ 4.4d)

                                                    ‘circular’   ขยายขอบดวยการสมมติใหมวนสวนทายของ

                                                                 สัญญาณไปที่หัวของสัญญาณ (ภาพที่ 4.4e)

                                      ขนาดเอาทพุต  ‘full’       ผลลัพธจะมีขนาดเทากับขนาดที่ทําการขยาย
                                                                 ขอบภาพแลว

                                                    ‘same’       ผลลัพธจะมีขนาดเทากับขนาดของภาพตนฉบับ

                                                    ‘’           กรณีไมกําหนด ผลลัพธจะมีขนาดเทากับขนาด
                                                                 ของภาพตนฉบับ



                                   คอนโวลูชันนิยมนําไปประยุกตใชหาคุณสมบัติการตอบสนองของสัญณาณในงาน
                                   การประมวลผลสัญญาณ  การทําคอนโวลูชันสัญญาณอิมพลัส (ไดแกสัญญาณ f(x)
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121