Page 109 -
P. 109
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
100
1/9 1/9 1/9 1 1 1 รูปที่ 4.2
1/9 1/9 1/9 0 0 0 (ก) ตัวกรองภาพเรียบ
1/9 1/9 1/9 -1 -1 -1 (ข) ตัวกรองขอบภาพแนวนอน
(ก) (ข)
หลังการออกแบบขนาดและคาสัมประสิทธิ์ของมาสคแลว กระบวนการกรองทําโดย
วางจุดศูนยกลางของมาสคลงบนจุดที่เราสนใจ สมมติใหเปนจุด (x,y) ที่มีคาความเขม
แสงเปน f(x,y) หลังจากนั้นทําการบวกผลคูณระหวางคาสัมประสิทธิ์ของมาสคกับคา
ของจุดภาพที่อยูดานลางเขาดวยกันแลวแทนกลับไปยังจุด (x,y) กระบวนการกรอง
สามารถเขียนใหอยูในรูปสมการไดดังนี้
f ( x, y) = ∑∑ m( i, j) f x ( + yi, + j)
i, j ∈ω (4.1)
โดย m(i,j) เปนคาสัมประสิทธิ์ของมาสคที่ตําแหนง (i,j), ω เปนเซ็ตที่มีสมาชิกเปนคา
ตําแหนงตางๆของมาสค เชน ถามาสคมีขนาด 3×3 ตัวแปร i และ j จะมีคาเปน -1, 0,
1 ดังแสดงตําแหนงอางอิงไวในรูปที่ 4.1 เนื่องจากคาสัมประสิทธิ์ของมาสคจะมีคา
เปนไดทั้งคาบวกและคาลบ ผลลัพธของระดับความสวางของภาพที่คํานวณไดหลัง
การกรองอาจมีคาเปนลบหรือมีคาเกินคาความสวางสูงสุดของภาพได ในกรณีเรา
จําเปนตองปรับมาตรา (scaling) คาที่คํานวณไดใหมีคาอยูระหวาง 0 ถึง 255 การปรับ
มาตราอาจทําโดยกําหนดใหคาติดลบทุกคามีคาเปนศูนย หรือใหคาที่มากกวา 255 มี
คาเปน 255 หรือ ทําการปรับมาตราแบบเชิงเสนตามสมการที่ 4.2
(max− min)× 255
g (x , y ) = (4.2)
f (x , y ) − min
โดยคา min และคา max เปนคาความสวางต่ําสุดและสูงสุดภายในภาพ