Page 107 -
P. 107
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
98
(2) ออกแบบมาสค โดยกําหนดขนาด รูปรางและสัมประสิทธิ์ของมาสค
(mask coefficient) เชน กําหนดมาสคสี่เหลี่ยมขนาด 1×3 ที่มีสัมประสิทธิ์เปน [-1 0
1] เปนตน
(3) วางมาสคลงบนภาพใหศูนยกลางของมาสคอยูที่ตําแหนง (x,y) แลว
คํานวณคาระหวางมาสค กับระดับความสวางของพิกเซลที่อยูใตมาสค แลวแทน
คากลับใหกับจุด (x,y)
(4) ทําซ้ําขั้นตอนที่ 1-3 จนครบทุกจุดภาพโดยการเลื่อนมาสคไปทีละ
จุดภาพ เริ่มตนจากแถวบนสุดดานซาย เลื่อนไปทีละจุดภาพภายในแถวจนครบ
ทุกจุดภาพ แลวจึงเลื่อนมาสคไปยังแถวถัดไป
ลักษณะการคํานวณระหวางสัมประสิทธิ์ของมาสคกับคาความสวางใตมาสคจะเปน
ตัวกําหนดชนิดของการกรอง ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ชนิด ถาการคํานวณที่ใชเปนแบบ
เชิงเสน เชน การบวก การลบ การกรองนั้นก็จะถูกจัดใหเปนการกรองแบบเชิงเสน
(linear filtering) ไมเชนนั้นจะถูกจัดใหเปนการกรองแบบไมเชิงเสน (non-linear
filtering) เชน การกรองเพื่อหาคาสูงสุดหรือต่ําสุดของคาความสวางภายใตมาสค เปน
ตน นอกจากนั้นยังนิยมแบงการกรองตามวัตถุประสงคของการใชงาน เชน การกรอง
เพื่อทําใหภาพเรียบ (smoothing) หรือกรองเพื่อหาขอบหรือมุมของวัตถุ (edge and
corner detection) เปนตน
4.1 การกรองแบบเชิงเสน (Linear spatial filtering)
การกรองแบบเชิงเสนเปนการกรองโดยใชสมการผลรวมของการคูณ (sum of
products) ซึ่งเปนสมการเชิงเสนในกระบวนการกรอง การกรองเริ่มตนดวยการ
ออกแบบและกําหนดคาสัมประสิทธิ์ของมาสคที่จะใช โดยทั่วไปจะนิยมออกแบบให
มาสคเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด n×n โดย n = 1,2,3,… นอกจากนั้นยังนิยม
กําหนดให n เปนลขจํานวนคี่ ทั้งนี้เพื่อใหมาสคมีจุดศูนยกลางการประมวลผลที่แน
ชัดเพียงจุดเดียวคือจุดตรงกลางมาสค โดยทั่วไปตําแหนงกลางมาสจะกําหนดใหเปน