Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                        97

                          บทที่ 4






                          การประมวลผลแบบพื้นที่














                                   การประมวลผลแบบพื้นที่ (local processing หรือ neighborhood processing) แทนคา
                                   ความสวางของจุดพิกเซลที่เราสนใจดวยคาใหมที่คํานวณจากคาความสวางของจุด

                                   พิกเซลรอบๆจุดที่เราสนใจ  โดยเราจะเรียกจุดพิกเซลรอบๆนี้วา  พิกเซลเพื่อนบาน

                                   (neighbors)  การประมวลผลภาพแบบพื้นที่จึงแตกตางจากการประมวลผลภาพแบบ
                                   จุดที่กลาวไวในบทที่ 3  ในเรื่องตําแหนงของคาความสวางที่เรานํามาใชในการ

                                   คํานวณคาความสวางใหม การประมวลผลภาพแบบจุดจะใชเฉพาะคาความสวางของ

                                   พิกเซลที่กําลังสนใจในการคํานวณ ในขณะที่การประมวลผลแบบพื้นที่จะใชคาความ
                                   สวางของพิกเซลรอบๆจุดภาพที่เราสนใจในการคํานวณดวย



                                   การประมวลผลภาพแบบพื้นที่จะนิยมใชเทคนิคพื้นฐานที่เรียกวา การกรอง (filtering
                                   หรือ filteration)  มาใชในการคํานวณหาคาความสวางใหมของจุดภาพ  การกรองจะ

                                   ทําหนาที่ในการคัดแยกหรือดึงสัญญาณสวนที่เราสนใจออกจากสวนที่เราไมสนใจ

                                   ภายในภาพผานการออกแบบตัวพรางหรือมาสค (mask)  หรือหนาตาง (window)

                                   หรือเคอรเนล (kernel) โดยออกแบบใหมีความเหมาะสมกับสัญญาณที่เราตองการคัด
                                   แยก ขั้นตอนหลักๆของการกรองเปนดังนี้



                                            (1) สมมติใหจุดพิกเซลที่เราสนใจเปนจุดณ. ตําแหนง (x,y) บนภาพ
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111