Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    10




                                         ลอจิสติกสในแนวความคิดทางการตลาด

                                           (Logistics in Marketing Oriented)



                          ระหวางป ค.ศ. 1950-1970 จํานวนของบริษัทที่ประสบความสําเร็จได กําหนด และปฏิบัติ

                   ตามแนวคิดทางการตลาด ( Marketing Concept ) วา “ ปรัชญาการจัดการของการตลาดที่จะสามารถ
                   บรรลุเปาหมายขององคกรที่ยอมรับได  ขึ้นอยูกับการตัดสินใจที่ถูกตองใน  การตอบสนอง ความ

                   ตองการของตลาดเปาหมายและการสงมอบใหเกิดความพึงพอใจดวยประสิทธิภาพและประสิทธิผล

                   ที่เหนือกวาคูแขงขัน”  (Marketing  management  philosophy  that  achieving  organizational  goals
                   depend  on  determining  the  needs  and  wants  of  target  markets  and  delivering  the  desired

                   satisfactions more efficiently than competitor) สรุปก็คือ  ผูบริโภคคือเจานาย ( Customer is the

                   Boss) นั่นเอง

                          ในสวนของความพยายามทางการตลาดขององคกร ลอจิสติกสถือเปนบทบาทที่เปนกุญแจ
                   ในการสรา งความพึงพอใจใหแกลูกคาขององคกร  และกอใหเกิดผลกําไรแกบริษัท   (ภาพ 1-2)

                   แสดงถึงแนวความคิดทางการตลาดจากมุมมองของลอจิสติกสการตอบ สนองความพึงพอใจของ

                   ลูกคา  รวมถึงการสรางอรรถประโยชนในดานเวลาและสถานที่ที่สูงที่สุดจากผูเสนอขายสินคา

                   (Supplier) สูคนกลาง (Intermediary) และลูกคาคนสุดทาย (Final Customers) ลอจิสติกสเปนการจัด
                   ใหเขาคูกันโดยอาศัยความชํานาญ ทางการตลาดในการสรางและการทํายอดขายใหสมบูรณ กําหนด

                   ระดับความพึงพอใจที่จะใหแกลูกคา  /  ผูบริโภค  อันจะสามารถนําไปสูผลประโยชนที่แตกตางกัน

                   ในตลาด โดยกําหนดใหเปนความพยายามที่สามารถรวมกันเปนหนึ่งเดียว  (Integrated Effort)    อัน

                   ตองการการประสานงานในกิจกรรมทางการตลาดอื่นดวย เชนกิจกร รมดานการสงเสริมการตลาด
                   และลอจิสติกสผลที่เกิดขึ้น ยอดรวมควรจะมากขึ้นจากสวนยอยๆ ดังเชน บริษัท เวลธ ฟูดส (Wealth

                   Foods)  ใหความสําคัญกับลอจิสติกสโดยกําหนดและปฏิบัติงานเพื่อการผสมผสานอยางเต็มที่ของ

                   การจัดซื้อ การจัดการสินคาคงคลัง การบริการลูกคา การขนสง และคลังสินคาสาธารณะ รวมถึงการ
                   ปรับปรุงดานกําลังการผลิต ตนทุน และการบริการ สงผลใหรอบระยะเวลาการสั่งซื้อ ( Order Cycle

                   Times)  ลดลง ตนทุนลอจิสติกสเมื่อเทียบกับยอดขายลดลงทุกๆป เริ่มจาก  ค.ศ. 1981 และระดับ

                   ผลิตภัณฑเสียเหลือ 6  ชิ้น จาก 10,000  ชิ้น องคประกอบสุดทายของการจัดการ แนวความคิดทาง
                   การตลาด กับลอจิสติกสคือกําไรสูงสุดของบริษัท ที่รับไดในระยะยาว ( Achieve  an  Conceptable

                   Level  of  Long-Term  Profits  ) จากมุมมองทางดานการเงิน  ความสามารถในการทํากําไร อาจจะ

                   หมายถึงตนทุนของการกระจายตัว  สินคาต่ําสุดในระดับการบริการลูกคาเทาเดิม  หรือมากขึ้น  โดย
                   อาศัยกลยุทธการตลาด  และความคาดหวังของลูกคา  (ภาพ 1-2 )
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28