Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                     8




                          สวนในประเทศไทย ไมมีขอมูลคาขนสงทางทอ จะเห็นวาในชวง 3 ป ที่ผานมาตั้งแต 2005-
                   2007  พบวา คาขนสงทางรถบรรทุกมากที่สุดรองลงมาเปนทางน้ําล อากาศ    , และทางรถไฟ
                   ตามลําดับ และบันทึกที่นาสังเกตวา มูลคาการขนสงเปนทางน้ําจะประมาณ 50% ของทางรถบรรทุก

                   และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเพียงเลกนอย สวนการขนสงทางรถไฟมีมูลคานอยที่สุด และยังคงสัดสวนคง
                   เดิม แตเมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตแลวพบวามูลคาการขนสงทางรถบรรทุก รถไฟ น้ํา มีระดับ

                   ใกลเคียงกัน สวนทางขนสงทางอากาศจะมีอัตราการเติบโตนอยที่สุด (ตาราง 1.1 ก)

                   ตาราง 1.1  ก.  คาขนสงดวยวิธีตาง ๆ ในประเทศไทย ป 2005-2007
                                                                                    ลานบาท (ประมาณ)

                  วิธีการขนสง           2005                 2006                 2007*           อัตราการเติบโต
                                   มูลคา    (รอยละ)    มูลคา   (รอยละ)    มูลคา     (รอยละ)     (รอยละ)
              รถบรรทุก              255,000      59.2    285,000      60.9      315,000      60.2       23.5
              รถไฟ                    2,070       0.5      2,285       0.5        2570        0.5       24.2
              น้ํา                  123,330      28.6    128,950      27.6      152,630      29.2       23.8
              อากาศ                  50,385      11.7     51,785      11.0       52,850      10.1        4.5
              รวม                   430,785     100.0     468,20     100.0      523,050     100.0

                        **ประมาณการ
                                            บทบาทของลอจิสติกสในองคการ


                                               (Logistics in Role in Firm )



                          ลอจิสติกสที่มีประสิทธิภาพไดเพิ่มพูนความพยายามทางการตลาดขององคกรใหเคลื่อนที่

                   ของผลิตภัณฑไปสูผูบริโภค ไดอยางมีประสิทธิภาพและกอใหเกิดอรรถประโยชนในดานเวลา
                   สถานที่และ ความเปนเจาของแกผลิตภัณฑ ทําใหเพิ่มโอกาสใหยอดขายขององคกรเพิ่มขึ้น โดย

                   พิจารณาจากงบทางบัญชี  ในรายการสินทรัพยที่เพิ่มขึ้น รายไดที่เพิ่มขึ้น เปนตน

                          ขณะที่องคประกอบที่เดนชัดของ  ผลิตภัณฑประชาชาติเบื้องตน แสดงใหเห็นวา
                   ลอจิสติกสสงผลกระทบอยางชัดเจนตออัตราเงินเฟอ  อัตราดอกเบี้ย  กําลังการผลิต   ตนทุนดาน

                   พลังงาน การยอมรับและผลกระทบอื่นๆ ในการกอใหเกิดการประหยัด มีการศึกษาอยูกรณีหนึ่ง ได

                   รายงานวา โดยเฉลี่ยแลว บริษัทของสหรัฐอเมริกา สามารถปรับปรุงกําลังการผลิต โดยอาศัย
                   ลอจิสติกสทําใหลดตนทุนไดรอยละ  20  หรือมากกวานั้น  การปรับปรุงในกําลั งการผลิตของ

                   ประเทศสงผลกระทบตอตนทุน ทําใหตนทุนลดลง  และการตั้งราคาของสินคาและบริการ ต่ําลง

                   ความสมดุลของดุลการชําระเงิน  การกําหนดคาของเงินตรา ความสามารถในการแขงขัน ใหมี
                   ประสิทธิภาพมากขึ้นในตลาดทั่วโลกทําใหกําไรของอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น (อันเนื่องมาจากตนทุนใน

                   การดําเนินงานในการผลิตและลอจิสติกสที่ต่ํากวาในกําลังการผลิตที่เทากัน) การหามาไดของแหลง



                      ที่มา : ดัดแปลงจาก Lambert และคณะหนา 7    1 /Lambert และคณะ  หนา 10
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26